การวิเคราะห์คำอ่านจากคัมภีร์บาลี จารึกเสาแปดเหลี่ยมชัยนาท: จารึกอรรถกถาอภิธรรมที่เก่าที่สุดในประเทศไทย หน้า 10
หน้าที่ 10 / 24

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจและวิเคราะห์คำอ่านจากข้อความภาษาบาลีในคัมภีร์สัมมทินนที โดยมีการเรียงลำดับข้อมูลที่แสดงถึงการสืบค้นและข้อสมมติฐานที่เกิดขึ้นจากสัญลักษณ์นัยนี้ เพื่อทำความเข้าใจลึกซึ้งเกี่ยวกับข้อความที่มีความสำคัญนี้ในศาสตร์พระพุทธศาสนา ข้อความที่จัดเรียงใหม่นี้จะช่วยให้ผู้ศึกษาได้เห็นภาพรวมและเข้าใจแนวคิดทางเทววิทยาได้ดียิ่งขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์คำอ่าน
-ข้อความภาษาบาลี
-คัมภีร์สัมมทินนที
-บทเรียนจากการเรียงลำดับ
-การศึกษาเกี่ยวกับพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำอ่าน 1. .................. ตโต (สุจฉิม)ท มัธ E นาขา 2. .................. เมน อิตติ สจฺจ วิสตติกา (E) ต 3. .................. เมน ตโต สุจฉิม มัธE 4. .................. ตุตา อิติ โส สุจฉสม(โด) เมื่อสังเกตจากสัญลักษณ์สิ้นสุดประโยค (ผู้เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ E) จึงเกิดข้อสมมุติฐานใหม่ว่า คำที่ปรากฏหลังเครื่องหมายดังกล่าวน่าจะเป็นคำต้นข้อความแล้วต่อจากนั้นเป็นส่วนที่ขาดหายไปจนกระทั่งมาถึงข้อความที่เป็นส่วนท้ายแล้วตามด้วยเครื่องหมายจบประโยค เมื่อนำมาเรียงใหม่จะได้คำอ่านดังนี้ คำอ่าน 1. นาขา .................. ตโต (สุจฉิมท มัธ E 2. ต่ำ .................. เมน อิตติ สจฺจ วิสตติกา (E) 3. .................. เมน ตโต สุจฉิมท มัธ E 4. .................. ตุตา อิติ โส สุจฉสม(โด) (E) เมื่อผู้เขียนนำข้อความภาษาบาลีดังกล่าวมาสี่บทที่มาแล้วพบว่าข้อความนี้เป็นส่วนหนึ่งของคาถา 4 คาถา ในคัมภีร์สัมมทินนทีนที อรรถกถาอภิธรรมปิฎก วิ่งคปกรณ์ คาถานี้รากฐานในส่วนของตอนที่ชื่อ “สัจวักกังควรรณา สุตตันตภายชนียะ” เปรียบเทียบคำจำริกกับคาถาในคัมภีร์สัมมทินนทีจะได้ดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More