พระธรรมเทวะน: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556 หน้า 76
หน้าที่ 76 / 121

สรุปเนื้อหา

พระธรรมเทวะน นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับความสมบูรณ์แบบของพระธรรมวินัยที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้แสดงธรรมในช่วงเวลาที่ใกล้เสด็จดับขันธปรินิพพาน โดยมีสูฏฑัปปปิพากษาเป็นตัวแทนที่ต้องการความรู้จากพระองค์ ซึ่งช่วยเน้นย้ำถึงความสำคัญของคำสอนในพระพุทธศาสนาที่ไม่มีคำสอนไหนเปรียบเทียบได้ การสืบทอดและข้อธรรมสะท้อนถึงความเข้มแข็งและความมั่นคงของพระพุทธศาสนาในฐานะแหล่งความรู้ที่สำคัญ รอการสอบถามจากศิษย์ที่มีความหมาย เพื่อรักษาพระธรรมให้ดำรงอยู่เป็นแสงสว่างในโลกนี้ โดยไม่ลืมสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการเข้าถึงความรู้เพื่อพัฒนาจิตใจและเข้าใจในพระธรรมต่าง ๆ

หัวข้อประเด็น

-พระธรรมวินัย
-พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
-ความสำคัญของสูฏฑัปปปิพากษา
-แนวทางการศึกษาพระธรรม
-ศรัทธาและความมั่นคงในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระธรรมเทวะน ตอนที่ ๑๐ ความรู้ทั่วไป รากฐานความมั่นคงของพระพุทธศาสนา 3.4 พระองค์ทรงประกาศความสมบูรณ์แบบของพระธรรมวินัยไว้อย่างชัดเจน นอกจากความพร้อมด้านบุคคล ความพร้อมด้านแนวทางการทำสังฆคาม และความพร้อมด้านการเทียบเคียงพระธรรมวินัยแล้ว ในช่วงเวลาที่พระองค์ประทับบรมสมัยใสยาสน์ รอเวลาใกล้เสด็จดับขันธปรินิพพานนั้น พระองค์ก็ทรงแสดงธรรม เพื่อโปรดสัททปริพากษ์ ให้เป็นพระอรหัตสาครสุดท้ายที่ได้เห็นพระองค์มีพระนมบังพุ่ง ในการแสดงธรรมครั้งนี้ พระองค์ทรงประกาศความสมบูรณ์แบบของพระธรรมวินัย อันไม่มีคำสอนใด ในโลกนี้เทียบเทียมได้เว้นอขัดเจน ดังมีหลักฐานปรากฏในเนื้อความช่วงท้ายของมหาปรินิพพานสูตร เรื่อง สูฏฑัปปปิพากษา ซึ่งมีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้ มั่นใจว่า สูฏฑัปปิพากษา ซึ่งเป็นบักขาวนอกพระพุทธศาสนา อาศัยอยู่ในกุฏิสนวราได้าว่า ในปัจฉิมาญของวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๗ นี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน จึงได้ดั้นด้นว่าพระองค์ดับสมมุติสมมุติพระองค์จะทรงบังเกิดขึ้นในโลกเพียงบางครั้งบางคราวเท่านั้น หากพระองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว ก็จะหมดโอกาสซักถาม ช่องสงสัยบางประการ เขาจึงรีบไปเข้าเฝ้ เพื่อขอความรู้ความจำพระองค์ก็จะสายเกินไป คิดได้ดังนั้นแล้ว สูฏฑัปปิพากษาก็รุดเดินไปยังสาลวินาย เพื่อเข้าเฝ้าพระองค์แต่ถูกพระอานนทท่านรั้ง ๓ ครั้ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงได้ยินถ้อยคำของพระอานนทท่านจากสูฏฑัปปิพากษาแล้ว จึงมีรับสั่งให้พระอานนทอนุญาตให้สุภาทิพยากรณ์เข้าเฝ้าได้ โดยมีรับสั่งว่า "อย่าทำสูฏฑะทะ เลยนาที" เขาถามปัญหาบางอย่างกับเรา เขาหวังความรู้จากเราเท่านั้น ไม่หวังรบเร้า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More