ภาระหน้าที่การเผยแผ่พระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556 หน้า 80
หน้าที่ 80 / 121

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงภาระหน้าที่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยเน้นความสำคัญของความไม่ประมาทตามคำปัจฉิมโอวาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรงวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างความมั่นคงให้กับพระธรรมวินัยและให้พุทธบริษัทสามารถดำเนินตามคำสอนอย่างสันติ ทั้งนี้ยังมีการวางแนวทางในการจัดแบ่งคำสอนตามหมวดหมู่เพื่อให้การปฏิบัติตามพระธรรมวินัยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การที่พระองค์ทรงสร้างบุคคลต้นแบบจนสามารถสร้างสันติภาพในสังคมพุทธได้ ถือเป็นอัจฉริยภาพที่สร้างความมั่นคงให้กับศาสนาตลอดมา ซึ่งจะทำให้พุทธสาวกะสามารถดำเนินตามรอยพระองค์ได้อย่างมีความเข้าใจ และสืบทอดคำสอนของพระองค์ไปยังโลกโดยไม่เกิดความขัดแย้ง

หัวข้อประเด็น

-ภาระหน้าที่การเผยแผ่
-ความไม่ประมาท
-การวางแผนการทำงาน
-การสร้างบุคคลต้นแบบ
-หลักการดำเนินตามคำสอน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ภาระหน้าที่การสิบบรพจน์ของพระพุทธศาสนาให้แผ่ขยายไปยังโลกทั้งปวง ด้วยพระดำรัสว่า "ภิกขุทั้งหลาย บัดนี้เราขอเตือนเธอทั้งหลาย สังเวชนทั้งหลายมิมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา เธอทั้งหลายจงทำหน้าที่ให้สำเร็จด้วยความไม่ประมาทเถิด" ปัจฉิมโอวาทครั้งสุดท้ายของพระอวตารนี้ เป็นการอำลาคำสอนทั้งหมดของพระองค์ตลอด ๔๕ ปีผ่านมา โดยรวมอยู่ในคำว่า "ความไม่ประมาท" เพียงคำเดียว หลังจากตรัสปัจฉิมโอวาทจบลงแล้ว พระองค์ก็ทรงเข้าตรGTมไปตามลำดับ ฉะนั้นท่ีสุดฉันดูนิยา เป็นจุดสิ้นสุดของพระองค์ที่ทรงใช้ฎราบประกาศ พระสาทนาเป็นเวลานานไว้ที่สาละโทษนเทวน ท่ามกลางพระกิจษาวที่ล้อมรอบ ส่วน ธรรมกายของพระองค์ก็เสด็จเข้าไปพระนิพพานไป ดังพระพุทธพจน์ว่าดังนี้ "แม้ภิกษาจำนวนมากก็ยังพินพานด้วยอุปาทิสิ้นนพานะฤๅ ก็ไม่ทำให้เป็นพพานร่อง หรือเต็มได้ เหมือนแม่น้ำสายใดสายหนึ่งในโลกที่ไหลรวมลงสู่มหาสมุทร และสายฝนกลจาก ฟ้าธำ ก็ไม่ทำให้มหาสมุทรพร่องหรือเต็มได้ การที่แม้ภิกษาจำนวนมากบริพพาน ด้วยอุปาทิสิ้นพานดฤๅ ก็ไม่ทำให้มหาสมุทรพร่องหรือเต็มได้ นี้เป็นธรรมาที่อัศจรรย์รๅ" จากการศึกษาข้อการสร้างความมั่นคงของพระธรรมวินัยตามลำดับๆ นี้ ย่อมจะ เห็นได้ว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแทรงทำงานอย่างรอบคอบ ทรงวางแผนการทำงานอย่างเป็น ขั้นตอน โดยทรงเริ่มที่การสร้างบุคคลให้มีความเคารพพระธรรมวินัยสูงสุดอยู่กับพระองค์ ไว้เป็นบุคคลต้นแบบ ต่อมาเมื่อพระธรรมคำสอนของพระองค์เพิ่มจำนวนมากขึ้น ก็ทรงมี พุทธานุญาตไว้ทางแนวทางการทำสังเคยนไว้ล่วงหน้า โดยทรงให้ดำไว้เป็นหมวดหมู่ก่อน ต่อจากนั้นก็ประทานมาพเทฺ ๔ ไว้เป็นแนวทางจัดช่องสัดส่วนคำสอนของกิจ หรือเป็น เกณฑ์พิจารณาคำสอนของกิจว่าถูกต้องตามพระธรรมวินยไมหรือไม่ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ ในภายหลัง แมพระองค์จะทรงวางแนวทางปฏิบัติไว้อย่างเป็นระบบแล้วก็ภาค เพื่อให้เกิด ความเข้าใจตรงกันในหมู่พุทธบริษัททั้งปวง พระองค์จึงทรงสรุปหลักการตรัสสรในพระพุทธ ศาสนาไว้ซึ่งชัดเจนอีกครั้งหนึ่งว่า การปฏิบัติบรรรมนั้นก็เท่าที่เป็นวิธีการัด อาสาสกิลให้หมดสิ้นจากสันดานในตัวดีเดี๋ยวกัน ยงผลให้บรรุอธิปพลเป็นพระอรหันต์ ศาสนา ใดในโลกที่ปราศจากคำสอนเพื่อการปฏิบัติอรรวมมอปนรฺ จะอุจฯชีวิตครีงเดิมนั้นจะไม่สามารถหยุดพันจากวงล้อสลากได้ นั่นคือไม่มีผู้ปรอรรถธรรมเป็นพระอรหันต์ ทั้งหมดนี้คือพระอัจฉริยภาพของพระองค์ในการสร้างความมั่นคงให้กับพระธรรมวินัย ไว้อย่างชัดเจนด้วยดีแล้วทุกประกาศ ส่งผลให้พุทธสาวกุรหลังสามารถดำเนินตามรอยตาม ของพระองค์ได้อย่างสันติ ไม่เกิดความขัดแย้งกันเองอย่างรุนแรงจนเกินไปและวิกฤติกันขึ้น ในภายหลัง ยิงกว่านั่นประสาทสมาธิคืนนในภาราฐการทำงานเผยแผ่กันเองก็ด้วย ทำให้พระธรรม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More