ความมั่นคงในการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556 หน้า 81
หน้าที่ 81 / 121

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับคำสอนในพระพุทธศาสนาและความสำคัญของการมีผู้นำในการดูแลทุกข์สุขของประชาชน ทั้งในระดับชุมชนและวัด เพื่อสร้างความมั่นคงในการบรรลุธรรม สอดคล้องกับคำสอนในการเจริญภาวนาและช่วยให้คนรุ่นหลังนำคำสอนมาใช้ในการบรรลุธรรมนั้น แม้ในปัจจุบันยังมีการแพร่ขยายสู่ทั่วโลก อย่างไรก็ตาม คำว่า 'หมายดูในโอกาสบรรธรรม' และ 'เป็นผู้นำไปปิวก' ได้ชัดเจนถึงภาระหน้าที่ของพระเกษในการเป็นผู้นำในการบรรลุธรรม ซึ่งมีความสำคัญต่อการสร้างเสถียรภาพในสังคมโดยรวมและการนำประชาชนสู่การพัฒนาทางจิตวิญญาณ ทำให้การดำรงอยู่ของสังธรรมไม่เสื่อมสูญหรือหายไป

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของการบรรลุธรรม
-บทบาทผู้นำในการนำพาสังคม
-การเจริญภาวนาในพระพุทธศาสนา
-การสืบทอดคำสอนสู่คนรุ่นหลัง
-การสร้างความสงบสุขในชุมชน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำสอนต่าง ๆ ในพระพุทธศาสนารวมถึงการปฏิบัติธรรมเมือง คำดำเนินมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันและกำลังแพร่ขยายไปสู่คนทั่วโลก 4. ความมั่นคงของการบรรลุธรรม ธรรมชาติของการอยู่ร่วมกันเป็นสังคมมัน ไม่ว่าจะเป็นสังคมเล็กหรือสังคมใหญ่ สังคมโลกหรือสังคมสงฆ์ มีความจำเป็นว่าจะต้องมีผู้นำในการดูแลทุกข์สุขของประชาชนในสังคมนั้นอย่างน้อยที่สุดก็ต้องมีผู้นำในระดับชุมชนในแต่ละท้องถิ่น หรือถ้าเป็นวัดแต่ละวัด ก็ต้องมีพระเกษเป็นเจ้าภาวะ เป็นผู้นำ เป็นผู้ปกครองสงฆ์ในวัดนั้นเกี่ยวกับการสร้างความมั่นคงของการบรรลุธรรม พระองค์มุ่งเป้าไปที่การสร้างพระเกษให้เป็นผู้นำในการบรรลุธรรม เพื่อเป็นครูอาจารย์ในการสอนการเจริญภาวนาให้แก่ทั้งสงฆ์ในวัดและประชาชนในท้องถิ่นต่าง ๆ ทั่วทุกแผ่นดินดังปรากฏหลักฐานไว้ในดดียสิทธิมสัมโม สุดธ "ภิษุเป็นเณะ ไม่มีมาก ไม่ยอหย่อน หมดดูในโอกาสบรรธรรม เป็นผู้นำในวิโก ปรารถนาความเพียรเพื่อถึงธรรมยิ่งไม่ถึง เพื่อบรรลุธรรมยิ่งไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งธรรมยิ่งไม่ได้ทำให้แจ้ง หมู่คนรุ่นหลังพากันตามอย่างภิษุเณะเหล่านั้น แม้ผู้คนรุ่นหลังนั้นก็ไม่มากมายไม่ยอหย่อน หมดดูในโอกาสบรรธรรม เป็นผู้นำในวิโกปรารถนาความเพียรเพื่อถึงธรรมยิ่งไม่มีถึง เพื่อบรรลุธรรมยิ่งไม่บรรลุเพื่อทำให้แจ้งธรรมยิ่งไม่ได้ทำให้แจ้ง ... ย่อมนำไปเพื่อความดำรงมั่น ไม่เสื่อมสูญ ไม่หายไปแห่งสังธรรม" จากพระดำรัสนี้ มีกิาทู่ ๒ คำ ที่แสดงถึงภาระหน้าที่ของพระเกษในการเป็นผู้นำการบรรลุธรรมของประชาชนไว้อย่างชัดเจน นั่นคือคำว่า "หมายดูในโอกาสบรรธรรม" และ "เป็นผู้นำไปปิวก" ในคัมภีร์อรรถกถาได้อธิบายคำศัพท์ ๒ คำนี้ไว้ว่า โอกาสบรรธรรม หมายถึง นิวนร ๕ ซึ่งเป็นระดับกลางได้แก่ (๔) กามฉันทะ ความพอใจในมาก (๒) พายบาท ความคิดด้วย (๓) นีมนิทะ ความหดหู่และเชื่อมซึม (๔) อุทธัจจะ- กุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านและร้อนใจ (๕) วิจิกิจา ความลังเลสงสัย ปริวาส หมายถึง อุปบิวก คือความสงสัจจากอุปนิสัย สภาวะอันเป็นทีตั้งที่ทรงไว้ซึ่งทุกข์ ได้แก่ กาม เบญจขันธ์ และกิจอันธารา อนึ่งหนึ่ง หมายถึงนิพพาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More