การสืบทอดพระไตรปิฎกผ่านเวลา วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ.2556 หน้า 51
หน้าที่ 51 / 120

สรุปเนื้อหา

พระไตรปิฎกมีการสืบทอดมานานกว่า 2,000 ปี โดยเริ่มต้นจากการสวดจำ ในยุคที่เทคโนโลยีสื่อสารยังไม่แพร่หลาย พระภิกษุสงฆ์ได้เดินทางไปเรียนรู้พระธรรมคำสอนจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และถ่ายทอดให้แก่กัน ในปัจจุบัน เรายังสามารถศึกษาพระไตรปิฎกที่เก็บรักษาเป็นข้อมูลดิจิทัลได้จากสถานที่ต่าง ๆ เช่น มหาวนาลัยและวัดพุทธามในกรุงเทพฯ เพื่อรักษาความรู้ ที่สำคัญให้คงอยู่ต่อไป.

หัวข้อประเด็น

-ประวัติการสืบทอดพระไตรปิฎก
-บทบาทของพระสงฆ์ในพุทธกาล
-การอนุรักษ์ความรู้ในยุคดิจิทัล
-ความสำคัญของพระธรรมและพระวินัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระไตรปิฎกษีเดินทางไกลผ่านกา เวลากมาประมาณ ๒,๐๐๐ ปี สีบทอดจากรุ่บสู่รุ่นจ นมาจนปัจจุบัน แต่แทบไม่น่าเชื่อว่าการสืบทอด ดังกล่าวจะมีจุดเริ่มต้นมาตั้งแต่เดือนเดียวโบราณ ในยุคที่ปฏิรูปเทคโนโลยีสื่อสาราคมนาคม แม้แต่การดีดเขียนตัวอักษรก็ไม่แพร่หลาย ในสังคมเดียวกัน จนปัจจุบันเป็นเรื่องอัศจรรย์ไม ่น้อยที่พระธรรมคำสอน ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ได้รับการสืบทอดต่อกันมาจนถึงมือเรา วิธีการเดียวในการสืบทอดพระธรรมและ พระวินัยในครั้งพุทธกาล คือ การสวดทรงจำ ซึ่ง นิยมเรียกว่า "มูปปฎะ" โดยมีจุดเริ่มต้นจาก พระภิกษุสงฆ์ที่เดินทางไปปรับพังพระวินัยและ พระธรรมเทวดาจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จากนั้นก็ทรงจำสอนนั้นไปถ่ายทอดให้แก่ พระภิกษุสูงในแคว้นต่าง ๆ พระภิกษุเหล่านี้คือพระภิกษุที่จำพรรษา อยู่ในแคว้นต่าง ๆ เมื่อเสร็จสิ้นการอยู่จำพรรษา ก็จะเดินทางไปเข้าเฝ้าพระผู้เป็นเจ้าโดยตาม ธรรมเนียมปฏิบัติในครั้งพุทธกาล เพื่อศึกษ พระธรรมคำสอนและพระวินัยทรงแสดงเพิ่มเติม ในพระบาลี แต่ดั่งมหาวนทยาลัยและวัดพุทธาม ในกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นสถานที่พระพุทธองค์ทรง จำพรรษาตลอดต่อเนื่องนับ ๒๕ พรรษา พระภิกษุอาคันตุกะที่เดินทางไปเข้าเฝ้า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งนะพักแรมในที่พัก ที่จัดแบ่งความเชี่ยวชาญในแต่ละด้านของ พระภิกษุ เช่น กลุ่มที่ชำนาญพระสูตร กลุ่มที่ ชำนาญพระวินัย เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อเลือกศึกษา พระวินัย พระธรรม หรือพระสูตรตามใจ ของพระไตรปิฎกที่เขียนจารึกในนั้น เมื่อเวลาตีพิมพ์จึงรวม อนุรักษ์ และถ่ายทอดความรู้ในฐานะเป็นหลักฐานชั้นต้น ของพระไตรปิฎกที่่าเก่ที่สุดเป็นข้อมูลดิจิทัล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More