ความหมายของธรรมในธรรมกาย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ.2556 หน้า 80
หน้าที่ 80 / 120

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความหมายของคำว่า 'ธรรม' ในธรรมกายในอัครญ์สูตร อธิบายคุณสมบัติของศรัทธาและการมองเห็นธรรมในระดับอัจฉริยะ โดยมีการอ้างอิงถึงพระไตรปิฎกและความสำคัญของพุทธวจนะที่ถ่ายทอดผ่านคำสอนของพระพุทธองค์ เพื่อให้เข้าใจความหมายที่ลึกซึ้งของธรรมกายในประเพณีทางพุทธศาสนา รวมถึงหน้าที่ของผู้ที่มีศรัทธาในธรรม

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของธรรม
-ธรรมกายในพุทธศาสนา
-ศรัทธาในพระพุทธองค์
-การอ่านพระไตรปิฎก
-การศึกษาธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๗๙ บทความพิเศษ เรื่อง : ดร.ชนิดา จันทรศรีโสภณ (ตอนที่ ๒) ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย สำหรับการพิจารณาความหมายของธรรมกายในอัครญ์สูตร มีประเด็นที่น่าพิจารณาดังนี้ ประเด็นแรก คือ คุณสมบัติของ "บุฏทีแท้จริงของพระพุทธองค์" นั่น ท่านว่ามา เป็นผู้มีศรัทธาที่มั่นคง ทรงรากลึก ในระดับที่ สมณพราหมณ์ เทวดา มาร พญาม หรือใคร ๆ in โลก ไม่อาจทำให้กลายได้... ศรัทธาในระดับนี้เรียกว่า "อจลศรัทธา" คือ ศรัทธาที่ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งเป็นคุณสมบัติพิเศษของอัจฉริยะคนนี้โลกันธ์ขึ้นไป ผู้ได้จดจำเลสประโยค "วิถีจิต" คือความสงบเสง่ห์ให้หมดไปได้โดยสิ้นเชิงแล้ว หาใครก็ได้เรียกตัวเองว่า "ชาวพุทธ" เท่านั้น การที่พระอริยบุคคลมิศร์ทธามั่นคงในพระวินัย โดยไม่ละอายอะไรทำให้กลายได้เช่นนี้เป็นเพราะได้มองตาเห็นธรรม ได้แจ้งเห็นจริงในธรรมอย่างงงงันแท้ดำเนินเองแล้ว จึงงงสงสัยมีความเชื่อมั่นและอานุภาพในธรรม ไม่ต้องพึงพาความมั่นใจจากผู้ใดต่อไป ดั่งที่ท่านบรรยายไว้หลายแห่งในพระไตรปิฎก "เขาได้เห็นธรรม บรรลุธรรม รู้แจ้งแจ้งในธรรม หยังลงในธรรมแล้ว ข้ามผ่านความสงสัยได้แล้ว จึงหมดคำถาม เป็นผู้แก่กล้ากล้าไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระบรมศาสดา" ประเด็นที่สอง คือ ความหมายของคำว่า "ธรรม" ในข้อความต่อไปนี้ "ครียสาวเป็นตุตรเกิดแต่พระอุราฯ เกิดแต่พระโอษฐ์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า" เป็นผู้เกิดจากธรรม เป็นผู้ธรรมเนรมิตตีน เป็นผู้เกิดจากธรรม เป็นต้น เพราะอะไร เพราะคำว่า ธรรมกาย พรหมกาย หรือพรหมกาย ก็ตาม ล้วนเป็นชื่อของภาคตาด... (สรุปและแปลอย่างง่าย จากคัมภีร์สูตร พระใครปฏิทินบาสยาวรัฐ เล่มที่ ๑๑ ข้อ ๕๕ หน้า ๒๙) พระคำร่ที่ีรต์สุดแต่เนื่องมาเป็นประกายเหตุผลแบบนี้ เป็นตัวบ่งบอกว่า คำว่า ธรรม ในข้อความนี้ ใช้ในความหมายแบบเดียวกันและหมายถึงผู้ให้กำเนิด และเมื่ออ่านข้อความว่า "เป็นบุตร เกิดแต่พระอุราฯ ของพระผู้มีพระภาคเจ้า" ที่นิยามว่าแล้ว ควรวินให้ด่วน คำว่า ธรรม ในข้อนี้หมายถึง "พุทธวจนะ" คือ คำสอนของพระพุทธองค์ ที่ทรงตรัสในพระทัย แล้วถ่ายทอดผ่านพระโอษฐ์ออกมา และตอบได้บันทึกไว้ในพระไตรปิฎก... ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่นักวิชาการส่วนใหญ่ รวมถึงชาวพุทธจำนวนมาก จะเข้าใจความหมายของ ธรรมกาย ไปในทิศทางนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More