การฝึกสมาธิเพื่อความสุขและสันติสุข ผ้าสีสุดท้าย หน้า 143
หน้าที่ 143 / 152

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอวิธีการฝึกสมาธิเบื้องต้น โดยเน้นการตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายตลอดเวลา ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบทไหน ซึ่งจะช่วยให้จิตสงบและบรรลุผลของการปฏิบัติสมาธิ การพัฒนาจิตที่ตั้งมั่นจะส่งผลให้ชีวิตมีความสุขและเจริญรุ่งเรือง ข้อความยังเน้นความสำคัญของการไม่ทอดทิ้งการฝึกและการช่วยเหลือกันในสังคมเพื่อสร้างสันติสุขอย่างแท้จริง ทุกคนไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญ่ สามารถร่วมมือเป็นหนึ่งเดียวเพื่อบรรลุเป้าหมายนี้ได้

หัวข้อประเด็น

-การตั้งจิตที่ศูนย์กลางกาย
-การฝึกสมาธิเบื้องต้น
-การสร้างความสุข
-การดำรงชีวิตอย่างมีศีลธรรม
-การสร้างสันติสุขในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๔. เมื่อเลิกนั่งสมาธิแล้ว ให้ตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายที่เดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบทใดก็ตาม เช่น ยืน เดิน นอน หรือ นั่ง อย่าย้ายฐานที่ตั้งจิตไปที่อื่นเป็นอันขาด ให้งดให้ บรรจบรวมกับนี้ถึงบริการมมิติเป็นดวงแก้วใส ควบคู่กันตลอดไป ๕. มิติต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะต้องน้อมไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายทั้งหมด ถ้ามิติเกิดขึ้นแล้วหายไป ก็ไม่ต้องตามหา ให้ ภวนาบประกอบใจต่อไปตามปกติในที่สุดเมื่อจิตสงบ นิมิตย่อม ปรากฏขึ้นใหม่อีก การฝึกสมาธิเบื้องต้นเท่าที่กล่าวมาทั้งหมด นี้ ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดความสุขได้ เมื่อซักซ้อมปฏิบัติอยู่ เสมอๆ ไม่ทอดทิ้ง จนได้ดวงปฐมมรรคแล้ว ก็ให้มันประคอง รักษาดวงปฐมมรรคนี้ไวตลอดชีวิต ดำรงอยู่ในศีลธรรม อันดี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่า ได้ที่พึ่งของชีวิตที่ถูกต้อง ดั่งาม ที่จะส่งผลให้เป็นผู้มีความสุข ความเจริญ ทั้งในพ ชาตินี้และชาติหน้า เด็กครรภ์ผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ผมตาเด็ก ทุกคนมีความรักใคร่สามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน หากสามารถ แนะนำต่อๆ กันไป ขยายไปยังเหล่ามนุษย์ชาติโดยอย่างไม่จำกัด เชื้อชาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ์ สันติสุขอันไร้ที่ทุกคนใฝ่ฝัน ก็ย่อมบังเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ๑๒๗
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More