การเผยแผ่พระสัณฐรรมในไทย  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2558 หน้า 77
หน้าที่ 77 / 140

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงการเผยแผ่พระสัณฐรรมแห่งพระบรมศาสดาโดยเฉพาะในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีส่วนสำคัญในการส่งพระไตรปิฎกและการนำเทคโนโลยีการพิมพ์มาใช้เพื่อเผยแพร่คำสอนพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังมีการประดิษฐ์อักษรอิระกะเพื่อลดความซับซ้อนในการเขียนและการพิมพ์ เพื่อให้สามารถตอบสนองศรัทธาได้ดียิ่งขึ้นและยังช่วยเผยแพร่คำสอนผ่านสื่อสิ่งพิมพ์อย่างต่อเนื่อง ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การเผยแผ่พระศาสนา
-พระประวัติสมเด็จพระจอมเกล้า
-เทคโนโลยีการพิมพ์ในพระพุทธศาสนา
-อักษรอิระกะ
-พระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทรงยังทรงเผยแผ่พระสัณฐรรมแห่งองค์พระบรมศาสดาให้ไปบงกงามยังดินแดนอื่น ดังปรากฏหลักฐานในหนังสือ "The Status of Pali in Cambodia : from Canonical to Esoteric Language" โดย Olivier de Bernon ว่าในสมัย พ.ศ. ๒๔๗๗ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ส่งพระไตรปิฎกฉบับครบถ้วนสมบูรณ์ไปยังสมเด็จพระกนิษฐาธิราชอันเนื่องจากพิธีการสืบทอดภายบาลีฉบับสมบูรณ์ของประวัติศาสตร์รามบูชาเลยทีเดียว นอกจากเจ้าฟ้ามงกุฎจะทรงมีส่วนสำคัญในการสร้างคัมภีร์พระไตรปิฎกในสมัยรัชกาลที่ ๓ แล้ว ช่วงที่พระองค์ทรงปกครองวัดบวรวรนิเวศวิหาร โปรดเกล้าฯ ให้นำเทคโนโลยีการพิมพ์มาใช้เพื่อประโยชน์ทางพระพุทธศาสนาอีกทางหนึ่ง โปรดเกล้าฯ ให้อดตั้งโรงพิมพ์แห่งแรกของประเทศไทยขึ้นภายในวัดบวรวรนิเวศวิหาร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำสื่อสิ่งพิมพ์ตอบได้คำสอนของศรัทธาศรัทธา ที่โดยดีพระศาสนาผ่านสิ่งพิมพ์อย่างต่อเนื่อง และให้มีการเผยแพร่คำสอนทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับการเผยแผ่คำสอนของมิชชั่นที่จะไม่เคยปรากฏมาก่อน และเพื่อ ลดความชับซ้อนของอักขระในการเขียนและการพิมพ์ ทรงประดิษฐ์อักษรขึ้นใหม่ เรียกว่าอักษรอิระกะ หมายถึง อักษรของผู้เจริญ โดยทรงดัดแปลงอักษรโมนของขาวตะวันตกมาใช้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More