ข้อความต้นฉบับในหน้า
เพื่อปลุกฝังความรู้และความรักในพระพุทธ- ศาสนา ซึ่งจะช่วยลดการสูญเสียประชากร ชาวพุทธไปได้อีกทางหนึ่ง การอบรมจัด ๒ วัน ๑ คืน ที่วัด พระมหาธาตุขาม ครังที่ผ่านมามีเยาวชน เข้าอบรม ๑๐๐ คน เป็นนักเรียนระดับ ม.ปลาย ซึ่งมีผลตอบรับดี ทั้งผู้ใหญ่และเด็กอยากให้ พระกลับไปอบรมใหม่อีกหลาย ๆ รอบ นับ เป็นผลงานอีกชิ้นหนึ่งที่สร้างความปลื้มปิติแก่ หลวงพ่อพลและหมู่คณะเป็นอย่างยิ่ง ด้วยภารกิจที่มากมายกล่าว ทำให้ พระภิกษุที่ศูนย์บ้านร่มเย็นต้องบริหารเวลา ในแต่ละวันอย่างดีที่สุด และในอนาคตก็หวังว่าจะมีพระมามี มาเพิ่ม แต่ผู้บวชพระแล้ว อยู่ใน ฐานะ สำหรับพื้นที่นี้ ส่วนใหญ่ที่บวช คือสามเณร ซึ่งตอนนั้นศูนย์บ้านร่มเย็นส่งไป เรียนที่วัดพระธรรมกาย ๓-๔ รูป และหวังว่า ในโอกาสหน้าท่านจะกลับมาช่วยงานในพื้นที่ นอกจากนี้ยังสนใจต่อเยาวชนที่เคยบวช ให้อบรมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย แล้วให้มาช่วยงานบ้างในบางครั้ง และไม่แน่ว่า อาจจะมาเป็นกำลังสำคัญของศูนย์ฯ ในอนาคต ก็ได้ นอกเหนือไปจากนั้นก็คงต้องกวานให้ ลูกใหม่ในพื้นที่เจ้ากิจเกิดเถอะ ๆ นโยบาย
อยู่ในบุญ ธันวาคม ๒๕๖๐
ที่หลวงพ่อท่านให้มา คือ "ไปทำอย่างไรก็ได้ ให้ถวายทุพไม่ออกนอกพื้นที่ ให้เข็มแข็งและ ยืนหยัดสู้กันต่อไป" จะได้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
สุดท้ายนี้ หลวงพี่คำพลกล่าวว่า "แง่นงาน เหนื่อยแค่ไหนหลวงพี่ก็ทำได้ ได้พักสักหน่อย ก็หายแล้ว ยังมีอีกเยอะนะ รอวุ่นไม่ได้ ตอนนี้ สถานการณ์พระพุทธศาสนาไม่ค่อยดี หลวงพ่อ ทัตตชีโวเคยบอกไว้ว่า 'ให้อดทน อย่ายอมแพ้' ถ้ามีใครยืนหยัดไม่ไหว จังหวัดนี้ก็จะ เสียเหมือนกัน" ซึ่งหลวงพี่ไม่ยอมแพ้หลอ เพราะ ว่า ถ้าหากเราสามารถยืนหยัดอยู่ได้ ต่อสู้ในพระพุทธศาสนาในพื้นที่หายไปได้ จังหวัดอื่น ที่มีชาวพุทธจำนวนมากๆ นี้ก็อาจจะต้องมาพื้นฟู พระพุทธศาสนาได้มากขึ้น เราสึงอีก หลวงพี่ อยากให้ผลงานของศูนย์บ้านร่มเย็นมีส่วนเป็น แรงบันดาลใจให้ศูนย์อื่น ๆ และญาติโยม มีมีกำลังใจในการสร้างบารมียิ่งขึ้น เจริญพร" เท่าที่ดูแล้ว ภารกิจนี้ฟันฝ่าพุทธศาสนา ใน ๑๓ จังหวัดภาคใต้แตกต่างอะไรบ้าง? การจุด คบไฟกลางสายฝน แต่ยกยอใจต้องจุด จะปล่อยให้ประชาชนแห่งธรรมดับลงได้อย่างไร และที่สำคัญการบริจาคจุดเสียตั้งแต่เนิ่นแต่นั้น ย่อมต้องดีกว่าไปบ่นนั่งใหม่ตอน ไม่มีอะไรเหลืออยู่เลย... มาช่วยกันเกิดชาวพุทธ!