ข้อความต้นฉบับในหน้า
ยันนอดคีต...ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
แวะข้างทาง : รู้ไหม คำว่า “อินดู” สินู” และ “อินเดีย” เป็นคำคำเดียวกัน
หากมีคนบอกเราว่า “อินดู” “สินู” และ “อินเดีย” เป็นคำคำเดียวกัน เราก็อาจจะทำ
หน้ามอง ๆ แล้วคิดต่อไปว่า “อินดู” เป็นชื่อของศาสนา...สินูเป็นชื่อของแม่...อินเดียเป็นชื่อของ
ประเทศไม่ใช่หรือ? คำตอบคือ “ใช่...แต่ยังไม่หมด” ส่วนว่าทำไมถึงยังไม่หมดนั่น เรามาดูกัน...
เมื่อราวเกือบ 3,000 ปีที่ผ่านมา พุทธศาสนากำเนิดขึ้นบริเวณพื้นที่ของอินเดียในปัจจุบัน
ถูกเรียกว่า “อารยะกลุ่มแม่น้ำสินธุ” ซึ่งก็คือบริเวณดินแดนประวัติศาสตร์ของวัฒนธรรม
“อารยะธรรมเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) ในลุ่มแม่น้ำไทกริส (Tigris) และยูเฟรตีส (Euphrates)
รวมถึง “อารยะธรรมอียิปต์” (Egypt) ในลุ่มแม่น้ำไนล์ (Nile)
เรามีเริ่มจากคำว่า “สินธุ” คำนี้เป็นคำในภาษาสันสกฤตที่แปลว่า “แม่น้ำ” และเมื่อ
ถูกเขียนด้วยอักษรโรมันนะใช้ว่า “Sindhu” ซึ่งคำนี้ในภาษาเปอร์เซียโบราณใช้ว่า “Hindus”
อินดู(สร) เป็นคำที่มาจากคำว่า “Indos” (อินโด) ในภาษากรีกโบราณ หรือ “Indus” (อินดูซ)
ในภาษาสันติน ต่อมาเมื่ออังกฤษเข้ามาปกครองอินเดีย จึงได้เลือกคำว่า “Indus” ใช้ในการเรียก
ชื่อของแม่น้ำสินธุ และใช้คำว่า “India” (อินเดีย) เรียกชื่อประเทศ
คำเหล่านี้ในแต่ละประเทศก็ใช้แบบต่างๆนอกไป เช่น ชาวอังกฤษเรียก “แม่น้ำนูดสู”
แต่ชาวอินเดียและชาวไทยเรียก “แม่น้ำสินุ” สำหรับชื่อประเทศ ชาวอังกฤษและชาวไทยเรียกว่า
“อินเดีย” แต่ชาวเปอร์เซียเรียกว่า “อินดูสุ” หรือ “อินดูซาน” ชาวญี่ปุ่นเรียกว่า “อินโด” เป็นต้น
ดังนั้น เราจะเห็นได้ถึงความสัมพันธ์ของคำว่า...
“สินธุ” “อินดู(สร)” “อินโด(อินโด)” “อินดูสุ” และ “อินเดีย”
ว่าแท้จริงแล้วเป็นคำคำเดียวกัน ต่างกันตรงที่การนำไปใช้ขึ้นเอง
ในตอนต่อไป เราจะเข้าไปสู่ “ยุคพระเวท” ซึ่งเป็นยุคที่ฝ่ายคงจรเริ่มเข้ามามีบทบาท
สำคัญในสังคมอินเดีย runtime รวบถึงการเกิด “ระบบบราห์มัน” อย่างเป็นรูปธรรม ส่วนรายละเอียด
จะเป็นอย่างไร โปรดติดตามตอนต่อไป
(อยู่ในบุญ ธันวาคม 2560)