อาจารย์คุติตะ: นักดีดพิณผู้มีชื่อเสียงในสวรรค์  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ธันวาคม พ.ศ.2560 หน้า 69
หน้าที่ 69 / 98

สรุปเนื้อหา

เรื่องราวของอาจารย์คุติตะ ที่มีชีวิตเป็นนักดีดพิณและมีคุณธรรมสูง ได้รับการเชิญขึ้นสวรรค์โดยท้าวสักเทวราช เพื่อทำการแสดงพิณที่ทำให้เหล่าทวยเทพชื่นชอบ เสียงพิณของท่านก้องกังวานและแสดงออกถึงความอุ่นชูในชีวิตและความเชื่อของการมีชีวิตที่ไม่ประมาท อาจารย์คุติตะได้ถามท้าวสักเทวราชเกี่ยวกับการเกิดในสวรรค์ ว่าได้มาอย่างไร ทำให้เกิดการสนทนาที่มีความหมาย

หัวข้อประเด็น

-อาจารย์คุติตะ
-ชีวิตและคุณธรรม
-การดีดพิณในสวรรค์
-ท้าวสักเทวราช
-การสนทนาระหว่างมนุษย์และเทพ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อุกษณ์กันเป็นอัศจินนั้น เพราะยังไม่เชื่อมั่น ว่านครสวรรค์มีจริง หรือบางคนอาจเชื่อบ้าง แต่เมื่ยงไม่เห็นด้วยตาเนื้อ จึงไม่เชื่อ ฯลฯ เปอร์เซ็นต์ การได้เห็นสวรรค์ตั้งแต่ตอนที่ยัง มีชีวิตอยู่ จึงเป็นโอกาสดีที่จะทำให้ดำเนิน ชีวิตด้วยความไม่ประมาท ในครั้งอดีต พระโพธิสัตว์บังเกิดใน ตระกูลคนธรรม เป็นอาจารย์สอนดีดพิณที่ มีชื่อเสียง มีชื่อว่า คุติตะ ท่านสืบทอดวิชา ดีดพิณจากคนธรรม เป็นนักดีดพิณที่เก่งที่สุด ในชุมพพิวี อีกทั้งมีคุณธรรมสูง คือ เป็นผู้ มีความอุ่นชู เลี้ยงดูมาดาบิดรผู้เก่าแก่และ ตาบอดด้วยความเต็มใจ ด้วยเหตุที่อาจารย์คุติตะเป็นนักดีดพิณ ที่เปราะมาก ประกอบกับเป็นลูกยอดดกฎฑุญ ชื่อเสียงของท่านจึงลือกระฉ่อนขึ้นไปถึงสวรรค์ ทำให้เหล่าทวยเทพอาพากพนอยากจะนำวิเคราะห์ บอยสนานและ อยากฟังเสียงพิณของท่าน ท้าวสักเทวราช จึงมีเทวบัญญาให้มาดีเทพุทธจัดแจง ราชามารับท่านอาจารย์คุติตะขึ้นไปเทียว บนสวรรค์ มาดลิเทพารัชจึงรีบรับไปถวาย ลงจากเทวโลกมารับท่านขึ้นไปบนสวรรค์ เมื่อท่านไปถึง ท้าวสักเทวราชเสด็จ มาด้วยรับด้วยจิตยินดี พร้อมด้วยบรรดา เทพนารี และทรงเชิญให้อาจารย์คุติตะ ดีดพิณให้ฟัง ฝ่ายอาจารย์คุติตะสล่าวว่า ตัวท่านเลี้ยงชีวิตด้วยการเป็นครูสอนดีดพิณ เพราะฉะนั้นการดีดพิณของท่านจะต้องมี างวัลเป็นเครื่องตอบแทน ท้าวสักเทวราช ว่า "ท่านอาจารย์ต้องการสมบัติหรือรางวัล แบบไหน เสนอมได้เลย เรายินดีมากมาย พร้อมจะมอบให้ท่านอยู่แล้ว" อาจารย์คุติตะปลูปลอรางวัลของ ท้าวสักเทว แต่กลับบอกว่าว่า "ข้าพระองค์ขอถามท่านว่าท่านจะงบอะไร ไว้ จึงได้มาเกิดบนสวรรค์ เป็นผู้ฟังพร้อม ด้วยพิษผสมบัติที่น่าตื่นตื่นใจพอเพียงนี้" ท้าวสักเทวและเหล่าเทพนิวัดก็จะตอบปัญหาของท่าน จึงตอบตกลงกันทันที เสียงพิณที่อาจารย์คุติตะดีดนั้น ก้อง กังวาน สดใส ไพเราะเสนาะโสตดังก้องเป็น ทิพย์ของชาวสวรรค์ เป็นเสียงที่สามารถกล่อม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More