ประวัติและวัฒนธรรมของชาวมอญ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ธันวาคม พ.ศ.2560 หน้า 48
หน้าที่ 48 / 98

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ของชาวมอญที่สร้างอาณาจักรในดินแดนเมียนมา ซึ่งมีความเชื่อมโยงกับพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมในอดีต โดยมีการกล่าวถึงการใช้ภาษาและอิทธิพลที่มีต่อสังคมในปัจจุบัน รวมถึงการแรกเริ่มของพระพุทธศาสนาและการยึดถือในสิ่งที่เป็นที่พึ่งในยุคสมัยนั้น.

หัวข้อประเด็น

-ประวัติศาสตร์ชาวมอญ
-ความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา
-วัฒนธรรมเมียนมา
-การค้นคว้าเกี่ยวกับพระไตรปิฏก
-อิทธิพลด้านภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดังนั้น ในการค้นหาคัมภีร์พระไตรปิฏกใบลานอักษร ม้า ผู้สำรวจจึงได้ค้นเรื่องราวประวัติศาสตร์เพื่อสืบหาค รองรอยแห่งอายุธรรมพุทธศาสนาควบคู่ไปด้วย ทำให้ ได้พบเรื่องราวที่เชื่อมโยงกับชุมชนหลายเขตตลอดผ่านผู้เคย ตั้งรากบนดินแดนนี้เมื่อหลายพันปีมา บางเขือชาต มีความเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนาย้อนกลับไปถึงสมัย พุทธกาลครั้งพระบรมศาสตัดยังมีพระชนม์ชีพอยู่ ความรุ่งเรืองด้านภาษาและวัฒนธรรมของบางเขือชาต ยังส่งผลมาจึงสังคมเมียนมาในปัจจุบัน ดังเนื่องราว ของชาวมอญซึ่งเป็นชนชาติแรกที่สถาปนาอาณาจักร อันรุ่งเรืองในดินแดนแถบนั้น ซึ่งปรากฏในรอยขาดนกกระ พระวีนัยปูลำที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๑ สรุปความ ไว้ว่า ตัวอาจารามขององค์พระมงคลบารมีที่สามารถ นำมาใช้เทียบเคียงกับอักษรมอญบนแผ่นลาน ฯ ขณะทีสร็เด็จพระผู้มีพระภาคเจ้ ประทับองค์อิมดิสุข ณ คงไมธายตนะ หลังจากกัสสุเป็นเวลา ๗ สัปดาห์ ขณะนั้น มีกบขบวนรถเทียวนพ่อค้าประมาณ ๕๐๐ เล่ม นำ โดยพ่อค้า ๑ พี่น้องนามว่า กุสุสะและภักสะ เดินทางจากกากสนจนป ยังมัณฑมัมิประเทศ เพื่อค้าขาย ทั้งสองได้ลูกลามยุ้งสัตว์ก่อน และบ้างสัตว์ผสม ซึ่งเป็นพระระยาทรว์มังแรก หลังจากกัสสุร ษ์ หลังจากได้พึ่งพระธรร มเทวดา จากพระพุทธองค์แล้ว พ่อค้าขบวนองกบึ้งโหว ก็บังเกิดความโล่งใจ ประกาศตนเป็นอุบาล ยิ่งเอาพระพุทธเจ้าและพระธรรมเป็นที่พึ่ง นับเป็นปฐมอุบาลคุณผู้อื่น จึงเรียกว่า ทวาทิจคู่แรกของโลก เพราะในเวลานั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพิ่งตรัสรู้ได้เพียงไม่นาน และยังไม่ได้ประกาศศาสนา จึงยังไม่มีพระสม เกิดขึ้น อุบาลชาวมอญทั้งสองจึงยึดเพียง พระพุทธเจ้าและพระธรรมเป็นสรณะเท่านั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More