พระราชกิจและความสำคัญของพระไตรปิฎกในรัชสมัยพระองค์  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2564 หน้า 55
หน้าที่ 55 / 113

สรุปเนื้อหา

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มีการเผยแผ่คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างก้าวหน้า งานแปลพระไตรปิฎกเป็นฉบับภาษาไทยและฉบับหลวงได้รับการดำเนินการสำเร็จ มหาปาสาณดูทาที่ประเทศเมียนมาร์ ยังเป็นจุดเริ่มต้นของการสังคายนาระดับนานาชาติที่มีพระภิกษุจากหลายประเทศเข้าร่วม เพื่ออนุบาลพระไตรปิฎกที่เป็นมาตรฐานนานาชาติผ่านงานสังคายนานี้

หัวข้อประเด็น

-พระราชกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล
-การเผยแผ่พระไตรปิฎก
-การสังคายนาพระธรรมระดับนานาชาติ
-ความสำคัญของพระไตรปิฎกในพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

"ภูมิพลโลกิฎ๙" ระหว่างที่ทรงดำรงสมณเพศ ทรงปฏิบัติพระราชกิจเช่นเดียวกับพระภิุกทั้งหลายอย่างเกรงครั่น เช่น เสด็จลงพระอุโบสถท้าวัดลงเช้า-เย็น ทรงสดับพระปฏิมากร ทรงทำโปสถังสมภารกรรม ทรงสดับพระธรรมและพระวินัย และเสด็จออกบิณฑบาต เป็นต้น ในรัชสมัยของพระองค์เป็นยุคที่การเผยแผ่คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเจริญรุ่งเรือง งานแปลพระไตรปิฎกที่ค้างมา ตั้งแต่สมัยพระบรมเชษฐาจได้รับการสืบสนดำเนินการต่อจนเสร็จสมบูรณ์ ฉบับแรก คือ พระไตรปิฎกภาษาไทย เป็นพระไตรปิฎกแปลโดยอรรถา พิมพ์เป็นเล่มสมุดจำนวน ๘๐ เล่ม เสร็จสมบูรณ์เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายนใน ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ และพระไตรปิฎกฉบับหลวง เป็นพระไตรปิฎกแปลโดยอัสสนเทคนา พิมพ์ใบลาน แบ่งเป็น ๒,๕๐ กั้นต์ เสร็จสมบูรณ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๒ เมื่อตรวจกระทำฉุตสังคายนา ณ มหาปาสาณดูทา กรุงสิงคโปร์ ประเทศเมียนมาร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เสด็จไปทรงอนุบาลการสังคายนา ซึ่งว่าเป็นการสังคายนะระดับนานาชาติครั้งแรกและครั้งเดียวของโลกที่พระภิุกษุชนและนักปราชญ์ผู้ทรงความรู้จะไตร่ฏิฏฐำจากประชุมสังเวยทุกประเทศ มาประชุมกัน และพระไตรปิฎกฉบับรัฐสภาคี อักษรพม่าก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระไตรปิฎกที่เป็นมาตรฐานนานาชาติของพระพุทธศาสนาเรวทั่วโลก มกราคม ๒๕๕๙ อยู่ในบุญ ๕๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More