ความเข้าใจในบุญและผลของการทำบุญ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2564 หน้า 85
หน้าที่ 85 / 113

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการทำบุญและอานิสงส์จากการทำบุญในพระไตรปิฏก ผ่านตัวอย่างของเทวิดาที่มีการเปลี่ยนแปลงชีวิตจากการทำบุญในอดีต โดยเน้นให้ผู้ฟังเรียนรู้และปฏิบัติตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อสร้างความเจริญรุ่งเรืองในชีวิต ทุกครั้งที่ทำบุญควรทำด้วยใจ บทนี้ยังมีการถ่ายทอดภาพเหตุการณ์จากหลวงพ่อ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแนวคิดเหล่านี้ ซึ่งช่วยให้ผู้ฟังได้เห็นภาพที่ชัดเจนถึงการทำบุญที่นำไปสู่ผลดีในชาตินี้และชาติหน้า โดยสามารถเรียนรู้ได้จากพระไตรปิฏกและอรรถกถาที่มากมาย

หัวข้อประเด็น

-การทำบุญ
-อานิสงส์
-ความเจริญรุ่งเรือง
-พระไตรปิฏก
-หลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เกิดข้อความต่อไปนี้ในภาพ: "ปลื้มปิติเกิด บูชืเล็กบูชืเล็กน้อย เวลาจะเจ็บปวดมาก ๆ บางที นั่นไม่ออก แต่บูชืเล็กบูชืเล็กน้อย ๆ นิกออก พอมีได้ ใจก็ยาสงวง เมื่อต้องลอง ไม่เศร้ามอง ลุกติ เป็นที่ไป เพราะฉะนั้นพิษเก็บโอกาสสร้างบูชืใหญ่ ที่ปลื้มสุด ๆ ชนิดที่สมไม่ลงไปตลอดชาติ เอาให้ได้ขนาดนั้นเลย มีเรื่องหนึ่งเป็นข้อคิดดีมาก เรื่องราว- เทวิดา ราชเทวิดา ตื่นนอนเป็นมนุษย์เป็นหญิง ชาวบ้าน วันหนึ่งนางกำลังเดินอ้อม ไต้เข้าดอก ไปบ่อกล้า ขณะนั้นพระมหากัลปะออกจาก ร้อนสมบัติ ท่านเห็นนางในบุณาก ก็เลยไปปรึกษา นางเห็นพระมหากัลปะก็เกิดจิตคริษฐา เอาข้าวดอกที่อยู่ในบุณาด้วยเลย เสร็จแล้ว ก็เดินกลับบ้าน พอดีวิกฤติกรรมในอดีตตาม มานูน ก็ดดาย พอตายปืนก็บิทเป็นเทพิดา อยู่ในสวรรคดิ์ ดั่งส มีมานทองสวยงาม มาก ประตูมานเป็นรูปบันดา มีข้าวดอกทองคำระโยงระยางอยู่สวยงามมาก พลุ่งส่ง ทันตาเห็นเลย เรื่องท่านองนี้มีมากมายในเพระไตรปิฏก ในอรรถกถา เพราะฉะนั้นพระเดชพระคุณ- หลวงพ่อถ่ายทอดอานิสงสอของทำบุญอะไร ต่าง ๆ ออกมาเป็นภาพให้เราเห็น ก็ลอคคล้อง กับที่ไม่มีพระไตรปิฏก ในอรรถกถา เพียงแต่ ในพระไตรปิฏกเราเห็นเป็นตัวหนังสือ แต่ที่ หลวงพ่อถ่ายทอดออกมาเป็นภาพเหตุการณ์ เพราะฉะนั้นพวกเราทุก ๆ คน ขอให้เดินตามหลักที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและ พระอรหันต์ทั้งหลายอบรมสอนเอาไว้ แล้ว ชีวิตเราจะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง ก้าวหน้า ไม่มี เสื่อมเลย ทำบุญครั้งใดก็ให้้มใจทุกครั้ง"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More