ข้อความต้นฉบับในหน้า
วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น
สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสมาธิและปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิธี ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ ดังวิธีปฏิบัติท่ะพระเดช-พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสิโต) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษเจริญ เมตตาสอนไว้อย่างนี้
1. กราบขอบพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้นุ่นใจเป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีล 5 หรือ ศีล 8 เพื่อย้ำความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง
2. คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบ สบาย ๆ ระลึกถึงความดี ที่ได้ทำแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนร่างกายทั้งหมดประกอบด้วยอุดมแห่งคุณงามความดีล้วน ๆ
3. นั่งตัวตรงสบาย ขาขวางับขาซ้าย มือวางทับมือซ้าย นี้ชี้ข้างขวาข้างซ้าย นั่งให้อยู่ในท่าที่ดี ไม่ฝืนร่างกายมากจนเกินไป ไม่งอหลังเกร็ง แตะให้หลังโงงหลับตาพอสมควรคล้ายกับกำลังพักผ่อน ไม่มีบีบกล้ามเนื้อท่อตามร่างคดี แล้วตั้งใจมัน วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่าจะเข้าสู่ภาวะแห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง
4. นึกกำหนดนิมิตเป็น “ดวงแก้วกลมใส” ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใสบริสุทธิ์ ประกายรอยดำหน้าใด ๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดับประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่าบริกรรมมนิมิตนิยมฯ นึกเหมือนดวงแก้วนั้นมั้งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ นึกไปเรื่อยอย่างนุ่มนวล เป็นพุทธานุภาพว่า “สัมมะระหัง” หรือ
ในขณะเดียวกันก็ให้ค่อย ๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่ 1 เป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับค่อย ๆ คำานนานิ่ง เมื่อนิมิตดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ใว้วารามณีสบาย ๆ กันนิมิุดั้นจนเหมือนกับว่าวจิเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ หากดวงนิมิตนี้ดำรงอยู่ตนวเดียวกันไปก็ไม่ต้องนิ่ง เสียาย ใจวางอารมณ์สบาย แล้วนิมิตนั่นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อจำเดิมนำไปปรากฏที่อื่น ที่มีศูนย์กลางกาย ให้ค่อย ๆ น้อมนิมิตเข้ามาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มีการบังคับ และเมื่อ นิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้รวจสติลงไปยังจุดศูนย์กลางกายของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึกคล้ายมีดวงดาวดวงเล็กๆ อีกดวงหนึ่ง ช้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจเอาไว้แต่