การทำบุญและผลของเจตนาบริสุทธิ์  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2564 หน้า 83
หน้าที่ 83 / 113

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงบทบาทของความผิดและความปลื้มในการทำบุญ โดยยกตัวอย่างองค์ประกอบสำคัญที่ส่งผลต่อบุญคือ วัตถุบริสุทธิ์, เจตนาบริสุทธิ์ และ บุคคลบริสุทธิ์ เนื้อหาอธิบายถึงการทำบุญอย่างถูกต้องเพื่อให้ได้บุญสูงสุด รวมถึงความสำคัญของเจตนาในการให้ทาน ทั้งก่อน ขณะ และหลังจากการทำบุญ ซึ่งส่งผลต่อการเกิดบุญที่เต็มเปี่ยม โดยเฉพาะในกรณีของผู้มีฐานะต่างกัน ซึ่งการให้ทานนั้นถึงแม้จะมีมูลค่าน้อย แต่ถ้าทำด้วยใจที่บริสุทธิ์ จะได้บุญมาก

หัวข้อประเด็น

-การทำบุญ
-ความผิดและความปลื้ม
-เจตนาบริสุทธิ์
-องค์ประกอบของการทำบุญ
-ผลบุญจากการให้ทาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

บางครั้งดีก็เป็นแบบผสมผสาน คือ อาจจะรู้สึกชาบชื่นด้วย อุทธถ้อย ขนดลูกชื่น ด้วย นี้คืออาการของความผิดหรือความปลื้ม นันเอง "ความผิด" หรือ "ความปลื้ม" มีผล ต่อบุญในตัวเราอย่างไร? พระสัมมาสัมพัทเจ้าตรัสไว้ว่า เวลา ทําบุญ ถ้าจะได้บุญมากต้องประกอบด้วย องค์ ๑ ดังนี้ ๑. วัตถุบริสุทธิ์ หมายถึง วัตถุที่ถวาย เป็นทานต้องได้มาด้วยความถูกต้องชอบธรรม ถ้าเป็นของที่โมยมาบุญกิลงไปตามส่วน ๒. เจตนาบริสุทธิ์ คำว่า เจตนาบริสุทธิ์ จะสัมพันธ์กับคำว่าปิ้ม จะขยายความ ทีหลัง ๓. บุคคลบริสุทธิ์ หมายถึง ผู้รู้ทาน ของเราเป็นผู้บริสุทธิ์ ยิ่งบริสุทธิ์มาก มีคุณธรรม มาก บุญกิลงไปตามส่วน รวมทั้งตัวเอง ในฐานะผู้ให้ทาน ถ้มีศีลและใจเป็นสมาธิเนิ มากเท่าไร บุญก็ยิ่งมากตามส่วนไปด้วย ดังนั้น ทำบุญกับบุคคลที่มีศีล ย่อมได้บุญมากกว่า ทำกับคนไม่มีศีล ทําบุญกับพระโสดาบันได้บุ มากกว่าทำกับบุคคลธรรมดาทั่วไป ทำบุญกับ พระอรหันต์ยิ่งมากขึ้น ย้อนกลับมาข้อ ๒ เจตนาบริสุทธิ์ก็คือ ตั้งแต่ก่อนให้ทานมิดีเสมอไป ขอให้ให้ใ ด้วยความตั้งใจ มีความเลื่อมใสเต็มเปี่ยม เมื่อ ให้ทานไปแล้ว ความเลื่อมใสยิ่งเกิดอย่าง ต่อเนื่อง มีอิทธิฤทธิ์ขึ้นทันที ขณะให้ และ หลังให้ บางคนมีฤทธิ์กา แต่พอทำบุญเสร็จแล้ว นึกทำเท่าใดหรือปล่อยบ่อ ลักเสียยาย ผลก็คือ บุญเกิดไม่เต็มที ผลบุญที่ให้ทานแม้ทำให้เกิดมาเป็น เศรษฐี แต่เพราะความตะหนิทำให้เสียราย ไม่ยอมใช้ทรัพย์ บางคนมีเงินมากมาย แต่เวล ซื้อผลไม้ต้องซื้อชนิดที่เก่า ถึงมา แล้วมาดัด ที่เน่า ๆ ออก มีเสื้อผ้า ก็ ก็ในตู้ แล้ว หาเสื้อขาด ๆ มาใส่ เพราะว่าถอยทานแล้วนีเป็น เพราะว่าถวยาทานแล้วนึกเสียบาททีหลัง คนที่หลักจะต้องรักษาใจให้ปลื้ม ทั้งก่อนทำ ขณะทำ และทำไปแล้ว ให้ใจใ เป็นแก้ว และมีความปิเนินบน นักครั้งใด ก็บปลื้มอกปลื้มใจ อย่างนี้ได้บุญมาก มีคนบอกว่าที่วัดพระธรรมภายในสอนว่า ทำมากได้บุญมาก ความจริงก็คือ ถ้อนไว้เอน เท่า ๆกัน วัดบุญธรรมกษรเหมือนกัน ทุกอย่างเหมือน กันหมด คนทำมากว่าที่ควรจะได้บุญมากว่า เป็นธรรมดา แต่คนที่มีอคติยาาในใจหรือยอมรับได้ ให้รามปรับวิธีธิบายให้เทพใหม่ ว่า ใครว่าวาได้ส่อมใม่ก ก็จะได้บุญมาก ถ้าพูด อย่างนี้เขาจะยอมรับได้ และความจริงก็เป็น อย่างนี้ สำหรับคนอยากจน เขาทำบุญ ๕ บาท ซึ่งอาจจะเป็นข้าวมือต่อไปของเขาได้ เขา ทำเต็มที่ของเขาแล้ว เขาก็ได้บุญมาก แต่คนที่ มีทรัพย์มาก ถ้าเขาจิตเลื่อมใส เขาจะทำ ๕ บาทไหม? ไม่หรอก เขาต้องทำเต็มที่ เติม กำลังศรัทธา เติมความพร้อมของเขา ดังนั้น คนที่มีทรัพย์น้อยก็โอกาสได้ บุญใหญ่ ถ้าคิดใจสร้างบุญเต็มที่ พอใจเลื่อมใ อย่างเต็มเปี่ยม บุญมหาศาล แม้ว่าทรัพย์ ไม่มาก แต่ก็ทำเต็มเต็มเท่าที่เขามีอยู่ในขณะนั้น เพราะฉะนั้นทำให้ถูกหลักวิชา ปลื้มทั้งหมดก่อนทำ ขณะทำ และหลังทำ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More