ข้อความต้นฉบับในหน้า
ในช่วงต้นที่พระพุทธศาสนาเผยแผ่มายังประเทศจีน ยังต้องอาศัยพระภิกษุสงฆ์ต่างชาติในการถ่ายทอดและแปลคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเป็นภาษาจีนอย่างต่อเนื่องอีกหลายท่าน กล่าวคือพุทธศาสนวจรขึ้น “ท่านคุณภัทรแห่งอินเดียเหนือ” แปลคัมภีร์ภาษาศาสตร์ ในเวลาใกล้เคียงกันนั้น ท่านปรัชญะแห่งอินเดียตะวันตก แปลคัมภีร์ปรัชญาโยคาทและปรัชญาดูกฎตุตตาวาทิน
ครั้นถึงพุทธศาสนวจรขึ้น “ท่านติปฎก-ธาราจารย์” เสวนาจำ (พระถังซำจั๋ง) ได้เดินทางไปศึกษาพระธรรมที่มหาวิทยาลัยลันทงนานถึง ๑๗ ปี เมื่อรวมการเดินทางไปกลับเป็นระยะทางถึงกว่า ๕ หมื่นลี้ จุดหมายเหตุบันทึกเรื่องราวระหว่างทางของท่านมากไปด้วยข้อมูลของดินแดนในองค์ิทลายและเอเชียใต้ เมื่อพันกว่าที่ผ่านมา ในจำนวนนี้ท่านเดินทางไปด้วยตนเอง ๑๑๐ แคว้น ขณะท่านอีก ๒๘ แคว้น ท่านบันทึกจากคำบอกเล่า บันทึกบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่ง เมื่อต่านกลับประเทศจีน ก็ได้นำพระไตรปิฎกฉบับบาลีฉบับกลิ่นเหลาออกบนั้เป็นความร่วมมาที่ในปี ค.ศ. ๑๐๘๘ เป็นนามท่านได้แปลคัมภีร์วิถีรง ๑๓๔ ฉบับ จำนวนรวม ๑,๓๔๗ ผู้ออกจากภาษาจีน มีทั้งคัมภีร์ฝ่ายศูนยตวานและโยคาจาร จักพรรคดั้งไกลงทรงเล่มในพระพุทธศาสนา ทรงอุปถัมภ์การแปลพระไตรปิฎกของพระเสวยจึงมีความสำคัญ
玄奘: pinyin: Xuánzàng;
ใช้เวลาทั้งสิ้น ๑๙ ปี รวมเวลาที่ในการเดินทางและการศึกษา
๒๒๔ A.D.