ข้อความต้นฉบับในหน้า
ครั้นกลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีกครั้ง เมื่อได้ฟังธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วจะออกบวชและได้บรรลุธรรม และในที่สุดหากผู้ถวายตั้งจิตปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าองค์ใดพระองค์หนึ่งในอนาคต ผลบุจาการถวายดูพระธรรมนี้ จะเป็นพลับจับใจเด็กหนุนให้เข้าใกล้พระภูปฺในภายภาคหน้า
อนึ่งสิ่งที่กล่าวไว้ในวรรณกรรมรูปปฐพีแห่งกรรมนั้นคือ ทำให้ฉันเป็นฐานได้ว่า ชาวสยามน่ะรู้จักการสร้างและตกแต่งหินหรือดูพระธรรมเพื่อถวายเป็นตนสมบัติ มาก่อนหน้านั้นแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานปรากฏเป็นประวัติที่มาได้จากหลักฐานข้างเคียง ตัวอย่างเช่น ข้อความในปรากฎในหนังสือสารานุกรมไทยฉบับเยาวชน ซึ่งกล่าวไว้ว่า ในจารึกปราสาทพระขรร ที่จารึกภาษาสันสกฤตด้วยอักษรขอม พ.ศ. ๑๓๘๔ พบมีเมืองพระนคร ประเทศกัมพูชา ปรากฎว่า “หินจีน ๒๖๐ ใบ” และปรากฎชื่อเมืองของอาณาจักรโบราณ ซึ่งนักโบราณคดีเชื่ออายุในเขตสยามประเทศ นี้เป็นหนึ่งในหลักฐานที่คาดคะเนได้ว่า หมู่บ้านในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ดังใช้พิธีนับตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๔ ซึ่งตรงกับสมัยไบฑุ์
ทีมในช่วงแรกที่ได้รับอิทธิพลจากจีน ที่บรรจุเสื้อผ้าหรือสิ่งของเครื่องใช้ เมื่อนิยมใช้สีทอเตรด้วย จึงเริ่มมีการตัดแปลงออกแบบให้เหมาะกับประโยชน์การใช้สอยในชีวิตของคนไทย หากเป็นนิบหรือดูของชนชั้นสามัญทั่วไป วัสดุและการตกแต่งอาจไม่วิจิตรหรูหรา แต่ว่าเป็นของชนชั้นสูงย่อมใช้อว์คุณภาพดีและตกแต่งอย่างวิจิตรรจรง โดยเฉพาะหีบและฉนุนสร้างขึ้นเพื่อรองรับพระธรรมคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า วัสดุและการตกแต่งยังอนุญาตให้ประดิษฐ์ง่ายขึ้นไป เกิดการสมานเป็นผลงานพุทธศิลป์
ที่แม้เท็จจริง เก็บไว้ในหอไตรตามอารามต่างๆ จากบันทึกเหลี่ยมลูกตาที่ได้รับอิทธิพลจากจีน ก็ปรับเป็นพระธรรมรงสีเหลี่ยม ด้านล่างทำฐานสอบเข้า ส่วนปากทีก็เผอออก มีฝารอบปิดด้านบน มีลูกด้วย โล่ห์ด้านข้างทั้ง ๒ ด้าน หรือพัฒนาจากที่กลายเป็นตุ้ตั้งอากรต่อยอดลงมา ๔ มุม ตู้ด้านบนสอบเข้า ด้านหน้าด้านหลังกว้างกว่าด้านข้างมีประตูปิดเปิด ๓ บาน ภายในเป็นชั้นไม้สำหรับวางทอดเป็นภริสไบน ๓-๔ ชั้น ขนาดของตู้แตกต่างกันไป จะแบกตามลักษณะของ “เก่า” หรือ “ฐาน” ได้ แขนแบบ