ลักษณะของตุพระธรรมในตุลายดน้ำ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564 หน้า 90
หน้าที่ 90 / 141

สรุปเนื้อหา

ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี อธิบายลักษณะของตุพระธรรมในหนังสือ 'ตุลายดน้ำ' ว่ามีรูปทรงเป็นสีเหลี่ยมลูกบาศ์ มีขาตั้งตรงมุม 9 ขา ความสูงเฉลี่ย 50 นิ้ว มีการตกแต่งลายทั้งบนและล่าง ตุพระธรรมที่ยังมีอยู่ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 3 สมัย ได้แก่ สมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ โดยทุกสมัยแสดงถึงการตั้งใจสร้างของพระมหากษัตริย์เพื่อสนับสนุนพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ลักษณะของตุพระธรรม
-ประวัติศาสตร์ตุพระธรรม
-ยุคสมัยของตุพระธรรม
-การตกแต่งตุพระธรรม
-ความสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี อธิบายลักษณะของตุพระธรรมในหนังสือ "ตุลายดน้ำ" ว่า "ตุพระธรรมที่แท้จริงนั้น มีทรงเป็นรูปสีเหลี่ยมลูกบาศ์ ด ส่วนบนสอบ มีขาตั้งตรงมุม ๙ ขา ยาวจากมุมของตุตาลไปประมาณ ๑๕ หรือ ๒๐ นิ้ว โดยทั่วไปขาของตุพระธรรมนัน ส่วนมากตกแต่งเป็นลายดั่งา หราทำเป็นลายจำหลักไม้บ้างแต่เป็นส่วนบน แม้ว่าตะธรรมจะมีขนาดแตกต่างกันอยูมากก็ตาม ขนาดเฉลี่ยโดยทั่วไปสามารถประมาณได้ดังนี้ คือ สูง ๕๐ นิ้ว กว้าง ๔๐ นิ้ว และลึก ๓๐ นิ้ว ขาตุ๋ยวา ๑๕ หรือ ๒๐ นิ้ว" (ตุ้าลายดน้ำ, ๒๕๓๖: ๑๒) ตุพระธรรมที่หลงเหลืออยู่ในปัจจุบันสามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ สมัย คือ สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์ แม้ตุพระธรรมจะแตกต่างกันด้วยยุคสมัยและรูปแบบการตกแต่งทางศิลปะ แต่สิ่งที่แน่นอนตรงกันคือ ความตั้งใจของทยายกษัตริย์ได้นำไปสร้าง เมื่อพระพุทธสาสนาล่วงแล้ว ๒๐๓๔ พระนาม ปีจะสุดตกล เป็นเงินตราขอให้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพานเกิด" บุญเตือน ศิริวรรณ. รามเกียรติจากตุลายดน้ำ. กรุงเทพฯ: สำนักงานวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๕๕. ศิลป์ พระศรี. เรื่องตุลายดน้ำ. พระนคร: กรมศิลปากร, ๒๕๐๓. อวิฑูรย์ อุดมพิพัฒน์. ลายดินน้ำ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๕๕. ๘๘ อยู่ในบุญ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More