ข้อความต้นฉบับในหน้า
เวลาที่เราได้มา" ฟรี" เมื่อผ่านไปแล้ว มันไม่ได้ผ่านไปเปล่า มันเอาโอกาสไปจากเราด้วยเมื่อโอกาสผ่านไปแล้วก็เรียกกลับคืนไม่ได้
เมื่ออายูน้อย โอกาสของเราคือการเล่าเรียนศึกษาฯ ถ้าไม่เรียนเมื่อโอกาสผ่านไปแล้ว อายุจะมากแล้ว จะมาหัดอ่านก.ไก่ข.ไข่ก็ไม่ได้เรื่องง่าย ๆ เพราะกี่ตดสายตาก็มัว มองก็ไม่ว่องไว เคลื่อนไหวก็เชื่องช้าจนแตกต่างจากตอนที่เป็นเด็ก ที่เรียนรู้ได้ไวกว่า มาก
เวลาผ่านไปแล้ว ก็ผ่านแล้วผ่านเลยโอกาสเช่นกัน จะให้หรือไม่ให้ ก็ผ่านแล้วผ่านเลยไปด้วยเช่นกัน ขณะที่โอกาสผ่านคนยอมคนฉลาด เขาก็จะเปลี่ยนโอกาสให้หลายเป็นความสำเร็จขึ้นมาได้ แต่โอกาสผ่านคนไม่มีเขาก็Εนอกจากไม่ได้อะไรเป็นความสำเร็จในชีวิตแล้ว ยังนำปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตมาด้วยที่สำคัญ เวลาที่ผ่านมาในนี้ ไม่ว่าเราจะใช้หรือไม่ใช้ นอกจากนำความแก่วงามให้แล้วสุดท้ายก็ณำความตายมาให้ด้วย เราจำต้องบริหารเวลาให้ดี ถ้าบริหารเวลาไม่ได้ชีวิตเราจะมีแต่ความยุ่งยากทั้งในปัจจุบันและอนาคตชีวิตที่เกิดมานั้นเกิดมาพร้อมกับความทุกข์นับไม่ถ้วน เราก็ต้องเกิดดิว ชีวิตก็ต้องดำเนินต่อไปจนวินเป็นวัฏจักรแล้วรอเล่าจุดมุ่งหมายของการบริหารเวลาในชีวิตที่แท้จริงนั้น ต้องนำมาใช้เพื่อการแก้ไขปัญหาเพื่อฝึกตนให้สุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวงให้ได้ในภาพสุดท้ายตามแบบอย่างพระบรมศาสดา
เมื่อเวลาในชีวิตเราใช้เพื่อการดับทุกข์
แก้ไขทุกข์ในชีวิตเราจึงต้องมองให้ออกกว่า ภาพรวมของทุกในชีวิตมนุษย์ครอบคลุมถึง อะไรบ้าง
ทุกข์ของมนุษย์แบ่งเป็น ๔ กลุ่มใหญ่ คือ
๑. ทุกจากสรีระร่างกายได้แก่ ความหนาว ความร้อน ความมิว ความกระทาย การปวดอด้าวจจจะ การปวดปัสสาวะเนื่องมาจากกายมนุษย์ประกอบขึ้นจาก ถาดุ้ไม่บริสุทธิ์ทั้ง ๔ คื อ ถาดิน ถดุ่น ถุดลม และถดุไฟ เมื่อไม่บริสุทธิ์จึงมีการเสื่อมสลายได้ ในขณะที่เสื่อมสลายก็จะแสดงอาการทุกในสรีระร่างกายออกมาเป็นความร้อน ความหนาว ความหิว ความกระหาย การบันท่ายอจจจะปัสสาวะ ซึ่งการจะระงับทุกในสรีระได้ เราจะต้องเติมเต็ม ๔ ให้แก่ร่างกายเพื่อสร้างประกอบร่างกายให้แข็งแรงและบำรุงให้แก่ร่างกาย ทุกชนิดจะสงบระงับได้
๒. ทุกขาจากการอยู่รวมกัน ได้แก่ การกระทบกระทั่งเพราะความไม่สำรวมกายและความไม่สำรวมจิต
ชีวิตมนุษย์ย่อมได้ด้วยการใช้จ้ วั หล่อเลี้ยงชีวิต ปัจจัย ๑ จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์ขาดไม่ได้ เพราะสร้างกายมนุษย์จะได้รับบุตร จากการบริโภคใช้ด้วยใจซึ่ง ได้แก่ ที่อยู่คำ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค นี่เอง
แต่เนื่องจากกำลังความสามารถของมนุษย์เพียงคนเดียวเท่านั้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแสวงหาหรือการผลิตปัจจัย ๕ มาได้อย่างครบถ้วน มนุษย์จึงเป็นต้องพึ่งพากันและกันในการแสวงหาปัจจัย ๕ การอยู่ร่วมกันเป็น