การแชทและศีลธรรมในสื่อสากล  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564 หน้า 116
หน้าที่ 116 / 141

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจว่าการแชทที่ไม่มีสาระหรือการใช้คำพูดหยาบคายถือว่าผิดศีลหรือไม่ โดยใช้หลักจากพระไตรปิฎกเป็นเกณฑ์ การสื่อสารไม่ว่าจะเป็นทางเสียงหรือข้อความก็สามารถส่งผลเชิงลบได้หากมีเจตนาในทางที่ผิด ตัวอย่างจากเรื่องราวในพระไตรปิฎกที่เกี่ยวข้องกับชาวประมงที่จับปลาและเกิดกลิ่นเหม็น นั้นสะท้อนให้เห็นถึงวิบากรรมในอดีตที่อาจเกิดจากการกล่าวร้ายต่อผู้อื่นที่มีศีลธรรม ซึ่งสอนให้รู้จักควบคุมคำพูดและมีสติในการสื่อสารกับผู้อื่น เพื่อหลีกเลี่ยงการสร้างกรรมในอนาคต.

หัวข้อประเด็น

-การแชทและศีลธรรม
-คำพูดหยาบคาย
-พระไตรปิฎก
-บาปกรรมและวิบากกรรม
-การสื่อสารในสื่อสากล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การแชทสิ่งที่ไม่มีสาระหรือใช่คำพูดหยาบคายถือว่าผิดศีลหรือไม่? ใน สื่อสากลไม่จำเป็นต้องใช้เสียงอย่างเดียว จะเป ยนเป็นตัวหนังสือก็ได้ แต่ถ้าเป็นสิ่งที่ไม่จริงก็เหมือนกันกับการพูดนั้นและ ถ้าเป็นเรื่องโศกสลดก็พอคำหยาบก็ผิด ไม่ว่าพูดเท็จ พูดเสีย เลย พูดคำหยาบพูดเพื่อเจ๋อ ผิดทั้งนั้น ถ้าสื่อออกไปแล้วคู่สนทนารู้เรื่อง และเราก็มีเจตนาด้วย แบบนี้ผิดศีลแน่ ถ้าเราได้ตั้งใจแต่ไม่กระทบเขาโดยไม่เจตนา ก็ยังไม่ผิดศีล แต่ผิดธรรม และจะทำให้มีบากรรม คือ ต่อไปจะมีอีมามากขึ้น ให้เราเจ็บใจหรือเดือดร้อนใจโดยไม่เจตนาได้เหมือนกัน จะนับเราต้องตั้งสติdd เลยอ่านในพระไตรปิฎกเรื่องราวว่ามีชาวประมงไปจับปลาได้ตัวหนึ่ง เป็นปลาตัวใหญ่สีทองสวยงามมาก แต่พออาบน้ำกลิ่นเหม็นขึ้นไปทั้งเมือง เพราะวิบากรรมในอดีตที่เคยไปตำนบุคคลที่มีศีลธรรม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More