ข้อความต้นฉบับในหน้า
การวิจัยเชิงปริธิ:
กรณีศึกษา “อัมจักกับปวัตนสูตร”
พระมหางศักดิ์ จามิโน*
บทคัดย่อ
“อัมจักกับปวัตนสูตร” นับเป็นพระสูตรที่สำคัญต่อพระพุทธศาสนาและพุทธศานิกชน เพราะแม้จะเกิดความเห็นที่ไม่ตรงกันในการส่งสายพระธรรมวินัย จนเกิดการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ ถึง 18-20 นิกายตาม แต่พระสูตรนี้ยังคงสืบทอดต่อกันมาในคัมภีร์ของนิกายต่าง ๆ จนถึงปัจจุบัน โดยนักวิชาการสามารถรวมรวมได้ถึง 23 คัมภีร์
สำหรับบทความนี้ได้นำเสนอรูปแบบการวิจัยเชิงปริธิ 2 รูปแบบใหญ คือ การวิจัยในแนวดิ่ง (Vertical) และการวิจัยในแนวราบ (Horizontal) โดยผ่านงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ “อัมจักกับปวัตนสูตร” ซึ่งนำไปสู่ข้อสรุปเบื้องต้น 2 ประการ ดังนี้
1. เมื่อพิจารณาถึง “ภาพรวม” แล้ว “อัมจักกับปวัตนสูตร” ปรากฏใน “คัมภีร์ยุคกรี” ของแต่ละนิกาย ไม่ได้จำเพาะเจาะจงเฉพาะนิกายใดนิกายหนึ่ง จึงอาจกล่าวได้ว่า “อัมจักกับปวัตนสูตร” นี้เกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาลในฐานะของพระปฐมเทศนา
2. เมื่อพิจารณาถึง “โครงสร้างเนื้อหา” จะเห็นได้ว่า มีเพียง “อัมจักกับปวัตนสูตร” ในสายของนิกาย “สรวาสติวาท” เท่านั้นที่มีลักษณะเฉพาะ โดยอนุโลมตามคำสอนในเรื่อง “มรรค 3” (ทรงสมรรถ, ภาวนามรรค, อไาศยยมรรค) ซึ่งถูกปรับใหม่ในภายหลัง
คำสำคัญ: การวิจัยเชิงปริธิ, อัมจักกับปวัตนสูตร, สวาสติวาท
* ดร., อาจารย์พิเศษ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (Ryukoku University), คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยบุคโคะ (Bukkyo University), นักวิจัยพิเศษ สถาบันวิจัยวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา (Research Institute for Buddhist Culture; RIBC) ประเทศญี่ปุ่น