ข้อความต้นฉบับในหน้า
นิยายสวาสดิวามเป็นหลัก ดังนั้น “จัมมักจับปวัตนสูตร” ฉบับแปลภาษาจีนโบราณนี้ จึงมีความเป็นไปได้สูงว่าเป็นคัมภีร์ของนิยายสวาสติวาม แต่ทว่าเมื่อเทียบเคียงกับ “จัมมักจับปวัตนสูตร” ฉบับอื่น ๆ ของนิยายสวาสติวามแล้ว กลับมีเนื้อหาที่แตกต่างกันมาก
2. San chuan fa lun ching (三轉法輪經) แปลโดยท่าน อิง (義淨 635-713) สำหรับ “จัมมักจับปวัตนสูตร” ฉบับแปลภาษาจีนโบราณนี้ เป็นของนิยายสวาสติวามซึ่งมีเนื้อหาส่วนนำที่คล้ายคลึงกับที่พบในสัญญาณยุคอาคม (A2) และมีเนื้อหาที่เหมือนกับที่พบในสมองสวาสติวามวินัย (C5) ซึ่งเป็นผลงานแปลของท่านอิงเช่นกันด้วยเหตุนี้จึงมีความเป็นไปได้สูงว่า “จัมมักจับปวัตนสูตร” ฉบับนี้ นำมาจากเนื้อหาในมูลสวาสติวามวินัย (C5) ดังกล่าว
3. “จัมมักจับปวัตนสูตร” (Dharmacakrapravartana-sûtra) ฉบับภาษาสันสกฤต^17 สำหรับพระสูตรฉบับนี้มีเนื้อหาส่วนหลัก ๆ ที่จากหายไป ซึ่ง Prof. Kyōtsui Oka ได้นำเนื้อความของพระสูตรนี้ดีพิมพ์เผยแพร่ ^18 และกล่าวไว้ว่า มีความคล้ายคลึงกับฉบับแปลของท่านอานนท์ชื่อกวางในข้างต้น^19 แต่ในเรื่องนี้ Prof. Kōgen Mizuno กลับมีความคิดเห็นว่า พระสูตรนี้มีเนื้อหาส่วนใหญ่ที่คล้ายคลึงกับที่พบในคัมภีร์สติวัตร Lalita Vistara (D2) มากกว่า^20
4. “จัมมักจับปวัตนสูตร” ฉบับแปลภาษาทิเบต Chos-kyi-hkhhor-lo rab-tu bskor-bahi mdo (Taipei Edition No.31 = Peking Edition No.447) สำหรับฉบับแปลภาษาทิเบตนี้ เมื่อมาเปรียบเทียบกับที่ปรากฏในสัญญูุตนิกาย (A1) พบว่ามีเนื้อหา
^17 Dharmacakrapravartana-sûtra by Léon Feer, Paris, 15 Quai Voltaire, 1870 (Oka 1927: 39-43)
^18 Oka (1927: 337-340)
^19 Oka (1927: 336)
^20 Mizuno (1996: 274)