ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมาภา ววาสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 1 ปี 2559
เหมือนกัน จึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นฉบับที่แปลมาจากพระสูตรต้นปิฏกของฝ่ายเถรวาท 21
5. "ทับมद्धกับปฐมสูตร" ฉบับแปลภาษาบาลีเดด Chos-kyi-khor-lohi mdo
(Taipei Edition No.337 = Peking Edition No.1003) สำหรับฉบับแปลภาษาบาลีนี้
เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับที่ปรากฎในสังยุตตกถา (A2) พบว่ามีเนื้อหาเหมือนกันดังนั้นจาจากว่าเป็นฉบับที่แปลมาจากพระสูตรต้นปิฏกของนิกายเถรวาท22
กลุ่ม C คัมภีร์พระวินัยปิฏกของฝ่ายเถรวาทและนิกายอื่น ๆ รวม 6 คัมภีร์ได้แก่
1. พระวินัยปิฎกมหาวรรค (Vin I: 10-14) เป็น "ฉมมนัจักปวัตนสูตร" ที่มี เนื้อหาเหมือนกับที่ปรากฏในสังยุตตนิกาย (A1) แต่แตกต่างกันตรงที่เนื้อหาในพระวินัยปิฎกมหาวรรคนี้ มีส่วนของเนื้อหาที่อยู่ใน "อัตตลักษณะสูตร" SN 22.59 Pañca (SN III: 66-68) เพิ่มเติมเข้ามาด้วย
2. มหิตสกาวินัย Wu fen lü (五分律) 15 (T22: 104b-105a)
3. ธรรมคุปต์วินัย Ssu fen lü (四分律) 32 (T22: 788a-789b)
4. สรวาสติวาทวินัย Shih sung lü (+譯律) 60 (T23: 448b-449a) สำหรับเนื้อหาที่ปรากฏในที่นี้ เริ่มต้นจากพระอานนท์กล่าวว่าพระสูตรนี้เป็นพระปฐมเทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า จากนั้นก็เป็นเนื้อหาที่คล้ายกันเนื้อหาที่ปรากฏอยู่ในสังยุตอาคาม (A2) คือ ปาร๎กูเพียงเนื้อหาในส่วนของ "รอบ 3 อากาส 12 ในอริยสัจ 4" เท่านั้น
5. มูลสวาสติวินัย Ken pen shuo i ch’ieh yu pu p’i na yeh tsiah
(根本說一切有部那耆婆事) 19 (T24: 292a-c) เนื้อหาที่พบในที่นี้ ก็มีเพียงเนื้อหาในส่วนของ "รอบ 3 อากาส 12 ของอริยสัจ 4" เท่านั้น และมีเนื้อหาเหมือนกันกับ
San chuan fa lun ching (三轉法輪經) (B2) ที่แปลโดยบุคคลเดียวกัน คือ ท่านอังจง
6. มูลสวาสติวินัย Ken pen shuo i ch’ieh yu pu p’i na yeh po seng
21 Teramoto (1925: 15)
22 Teramoto (1925: 15)