การศึกษาเปรียบเทียบคัมภีร์พระไตรปิฎก การวิจัยเชิงคัมภีร์ กรณีศึกษา “ธัมมจักกัปปวัตนสูตร” หน้า 9
หน้าที่ 9 / 33

สรุปเนื้อหา

การศึกษาเปรียบเทียบคัมภีร์ในฉบับพระไตรปิฎกและนิยายโบราณเผยให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่เกิดขึ้นก่อนการแตกนิกาย ข้อมูลจากคัมภีร์บัลและฉบับแปลภาษาจีนโบราณสามารถช่วยยืนยันหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาในยุคเก่าแก่ที่สุด การวิจัยแบ่งชั้นความเก่าแก่ของคัมภีร์ยุคต้นเป็น 3 ระดับ นำไปสู่การค้นพบสำคัญในประวัติศาสตร์ศาสนา dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาเปรียบเทียบคัมภีร์
-ความเก่าแก่ของคัมภีร์
-คัมภีร์บัล
-ฉบับแปลภาษาจีนโบราณ
-ศาสนาพุทธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การศึกษาเทียบเคียงกับของนิยายอื่นซึ่งทอดมาถึงปัจจุบันอีก 5 ฉบับ10 การศึกษาเปรียบเทียบคัมภีร์ในฉบับพระไตรปิฎกนี้ เนื้อหาที่มีกล่าวถึงในคัมภีร์พระไตรปิฎกต่างนิยายกันมีความเป็นไปได้สูงที่ผ่านมาเกิดขึ้นก่อนการแตกนิกายทั้ง 2 นั้น และการศึกษาเปรียบเทียบคัมภีร์ของนิยายต่าง ๆ จำนวนมากอาจนำไปสู่การค้นพบยืนยันหลักคำสอนของพระพุทธ-ศาสนาในยุคเก่าแก่ที่สุดได้ แม้วาการวิจัยในแนวระนาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการวิจัย “คัมภีร์ยุคต้น” นี้จะยึดถือเอาคัมภีร์ในระดับชั้นเดียวกันก็สามารถที่จะพิจารณาได้ตามแต่เพื่อเกิดขึ้นในฉบับของพระไตรปิฎกนี้ จะมีอยู่จำนวนไม่มาก นอกจากนิยายเป็นฉบับแปลภาษาจีนโบราณที่ไม่ใช่ต้นฉบับสนับสนุนด้วย ดังนั้น การวิจัยในแนวระนาบนี้จึงสามารถแบ่งลำดับชั้นของ “ความเก่าแก่ของคัมภีร์ยุคต้น” ออกเป็น 3 ระดับได้ดังนี้ - ลำดับชั้นที่ 1 เนื้อหาที่ปรากฏอยู่ใน “คัมภีร์บัล” และ “ฉบับแปลภาษาจีนโบราณ” - ลำดับชั้นที่ 2 เนื้อหาที่ปรากฎเฉพาะใน “คัมภีร์บัล” เท่านั้น - ลำดับชั้นที่ 3 เนื้อหาที่ปรากฏเฉพาะใน “ฉบับแปลภาษาจีนโบราณ” เท่านั้น สำหรับเนื้อหาที่ปรากฏทั้งใน “คัมภีร์บัล” และ “ฉบับแปลภาษาจีนโบราณ” นั้นในทางภาษาวิว่ามีความเป็นไปได้สูงที่จะเกิดขึ้นตั้งแต่มิถุนายน เพราะมีปรากฎอยู่ในคัมภีร์ทั้ง 2 ฝ่าย ดังนั้นเมื่อติจฉาพิจารณาถึงลำดับชั้นของ “ความเก่าแก่ของคัมภีร์ยุคต้น” จึงกล่าวได้ว่า จัดอยู่ในลำดับชั้นที่ 1 สำหรับเนื้อหาที่มีปรากฏเฉพาะใน “คัมภีร์บัล”
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More