การศึกษาอัมมจักและปวัตนสูตรในคัมภีร์พุทธศาสนา การวิจัยเชิงคัมภีร์ กรณีศึกษา “ธัมมจักกัปปวัตนสูตร” หน้า 19
หน้าที่ 19 / 33

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนอการจำแนกประเภทของอัมมจักกับปวัตนสูตรในกลุ่มต่างๆ ของคัมภีร์พุทธศาสนา โดยมีการจัดกลุ่มตามเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์กับอริยสัจ 4 นิยามและหลักการที่สำคัญในทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ถูกนำมาวิเคราะห์ มีการระบุว่ากลุ่มที่มีเนื้อหาครบถ้วนที่สุด กลุ่มไหนที่พิเศษในการศึกษา รวมถึงการกล่าวถึงคัมภีรต่างๆ ที่สอดคล้องกัน เช่น Mahāvastu และ Lalita Vistara ซึ่งช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจถึงความหลากหลายของคัมภีร์พุทธศาสนาและความสำคัญในประเด็นต่างๆ ที่กล่าวถึงในลักษณะของนิยาย

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาคัมภีร์พุทธศาสนา
-อัมมจักภายในกลุ่มต่างๆ
-ปวัตนสูตรและความสำคัญ
-การระบุเนื้อหาที่เกี่ยวกับอริยสัจ 4
-การวิเคราะห์ทางสายกลาง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กกลุ่มที่ 1 "อัมมจักกับปวัตนสูตร" ของฝ่ายถอดา ได้แก่ A1, B4, C1 และ E1 รวม 4 คัมภีร์ เพียงแต่เนื้อหาใน A1, B4 และ E1 นั้นประกอบด้วย "การเว้นห่างจากหนทางสุดโต่ง 2 ทาง ปฏิบัติตามหนทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)" และ "รอบ 3 อาการ 12 ของอริยสัจ 4" เพียง 2 ส่วน มีเพียง C1 เท่านั้นที่มีเนื้อหาในส่วนของ "อนัตตลักษณะสูตร" เพิ่มเข้าไปด้วย กลุ่มที่ 2 "อัมมจักกับปวัตนสูตร" ของนิยายมีสละได้แก่ C2 กลุ่มที่ 3 "อัมมจักกับปวัตนสูตร" ของนิยายมหาสังฆิได้แก่ C3 กลุ่มที่ 4 "อัมมจักกับปวัตนสูตร" ของนิยายสรวาดีวาท ได้แก่ A2, B2, B5, C4, C5, C6, E2 และ E3 รวม 8 คัมภีร์ ซึ่งเนื้อหาส่วนใหญุปาฎภูเพียง "รอบ 3 อาการ 12 ของอริยสัจ 4" เท่านั้น มีเพียง C6 เท่านั้นที่มีเนื้อหาครบถ้วนทั้ง 3 ส่วน กลุ่มที่ 5 "อัมมจักกับปวัตนสูตร" ที่ปรากฏในคัมภีรมหาวสัตุ Mahāvastu ซึ่งเป็นของนิยายโลโกตตรวา ได้แก่ D1 นอกจากนี้ยังมี D3 ที่สามารถจัดเข้าในกลุ่มนี้ได้ กลุ่มที่ 6 "อัมมจักกับปวัตนสูตร" ที่ปรากฏในคัมภีรสิลิลิตสรฺยะ Lalita Vistarา ได้แก่ D2 นอกจากนี้ยังมี B3 และ D4 ที่มีเนื้อหาและโครงสร้างแบบเดียวกัน แต่สำหรับประเด็นเรื่องเป็นของนิยายได้นั้น ยังไม่อาจจะปูได้อย่างชัดเจน กลุ่มที่ 7 "อัมมจักกับปวัตนสูตร" ของเอโกตตาวตา Tsen i a han ching (増壹阿含經) ได้แก่ A3 กลุ่มที่ 8 อื่นๆ กล่าวคือ "อัมมจักกับปวัตนสูตร" ของ Kuo ch’ü hsien tsai yin kuo ching (過現就在因果經) (D5) ซึ่งอาจจะนับรวมได้อย่างชัดเจน แต่มาแนวให้ม ว่า อาจเป็นของนิยายสรวาดีวาท นอกจากนี้ยังมี Chung hsü mo ho ti ching (眾許摩許摩喩) (D6) และ Chuan fa lun ching (轉法輪經) แปลโดยท่าน อานเช่กวา (安世高) ที่มาถอดคำระบุญิาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More