ธรรมะเบื้องต้นเกี่ยวกับร่างกายและใจ คู่มืออุบาสิกาแก้ว หน้า 49
หน้าที่ 49 / 89

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายพื้นฐานของธรรมะที่เกี่ยวกับร่างกายและใจของมนุษย์ โดยแยกออกเป็นสองส่วนหลัก คือ ร่างกายที่เกิดจากปัจจัยต่างๆ และใจที่มีลักษณะเป็นธาตุละเอียด ซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่าแต่สามารถเข้าใจได้ด้วยประสบการณ์ในชีวิต. ร่างกายที่เป็นสิ่งที่มีการเจริญเติบโตเป็นไปตามอายุตามโลก ขณะที่ใจเป็นสิ่งที่สำคัญนำพาความรู้และประสบการณ์ แต่ทั้งหมดนี้กลับต้องไปสู่แนวทางของการตายและการเปลี่ยนแปลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้.

หัวข้อประเด็น

-ร่างกาย
-ใจ
-ธรรมะ
-วิญญาณ
-การเจริญเติบโต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมะเบื้องต้น มนุษย์ประกอบด้วยร่างประกอบ 2 ส่วน คือ ๑. ร่างกาย หรือเรียกสั้นๆ ว่า กาย ๒. ใจ ในภาษาบาลีเรียกว่า จิต หรือ วิญญาณ กาย กาย - ทั้งหญิงและชายต่างประจวบด้วยอายุตลอด ชร ซึ่งได้แก่ ชาติ ดับ ชรา ภพ และบาดเจ็บ มาประชุมกันอย่างได้ส่วนเหมาะสม แล้วเกิดเป็นอวัยวะต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก เช่น ผม ขน เล็บ ผิว ภายในเช่น ดับไข้ หิว จีวร ฯลฯ กาย - ไม่ได้ตกตื่นนอนเองลย ต้องมีตนและมาดร เป็นผู้ให้กำเนิด คลองจากร่างมารดาแล้วก็ต้องอาศัยอายุ ๔ จากนอก เช่น อาหาร น้ำ ลม และแสงแดด ฯลฯ นำล่อเลี้ยงตลอดเวลา จึงเจริญเติบโตได้ กาย - เป็นเพียงของกลางๆ คือนิ่งไม่มีชีวิต ยังไม่มี-ยังไม่ชั่ว ยังไม่อ่อนใหญ่-ไม่ดำกาม ใดๆ ทั้งสิ้น ดั้งแต่เมื่อได้พูด-ทำความดีคำก็อธิบาย จึงเกิดเป็นกรรมอายุตามคำพูดหรือเท่านั้น ไทย - ประกอบด้วยร่างกายที่ยังไม่สมบูรณ์จริงเป็นของโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ตั้งแต่งานในครรภ์ ถึงแม้จะดูแลรักษาเป็นอย่างดี ก็ต้องแตกสลายเป็นวรรณะ คิดจากด้านในสุด กาย - หลังจากเป็นคนแล้ว ก็ทุกข์ได้ฝังบ้าง เผา บางาธาตุ ๔ ซึ่งประกอบเป็นกายดิน แผ่ธาตุ ๔ ที่ประกอบเป็นกายก็คืนกลับสภาพเดิม คืออาศัยคืนกลับเป็นดินเท่านั้นในภายหลังกลับเป็นไฟ เชื้อไฟต่างๆ ในภายจึงต้องตายตามไปด้วย ใจ ใจ - เป็นฌานชนิดหนึ่งที่เป็นก้อนองค์ประกอบหนึ่งของมนุษย์ เข้าไปสิวิตอยู่ภายในกายตั้งแต่เกิด ทำให้มายมนุษย์มีประสบการณ์ต่างๆ มีวิจารณ์มาได้ ใจ - เป็นธาตุละเอียด จิงไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ไม่สามารถจับต้องได้ แต่เห็นได้ด้วยตา ทิพย์ เป็นธาตุ จิจทำให้รู้เรื่องราวต่างๆ ได้ เช่น รู้ธรรม รู้หนังสือ รู้จักเพื่อน รู้จักดี-ชั่ว รู้จักโง-เสียใจ รู้จักพูด-ผล-ชอบ ใจ - ทำงานร่วมกับประสาทสัมผัส 5 คือ ตา จมูก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More