การใช้คำพูดกับพระสามัคคีและการนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ คู่มืออุบาสิกาแก้ว หน้า 77
หน้าที่ 77 / 89

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอการใช้คำพูดที่เหมาะสมกับพระภิกษุสงฆ์ เช่น คำทักทายและการพูดกลางๆ เมื่อไม่รู้จักพระ พร้อมอธิบายคำศัพท์เฉพาะที่ใช้ในบริบทของพระภิกษุ ต่อจากนั้นเป็นการนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ไปประกอบพิธีบุญ โดยแนะนำการนิมนต์ในเวลาที่เหมาะสม เช่น ควรนิมนต์ล่วงหน้าอย่างน้อย ๗ วัน ก่อนวันงาน รวมถึงการใช้ภาษาที่เหมาะสมขณะนิมนต์พระ.

หัวข้อประเด็น

-การใช้คำพูดกับพระภิกษุสงฆ์
-ถ้อยคำพิเศษสำหรับพระภิกษุ
-การนิมนต์พระภิกษุสงฆ์
-พิธีบุญในประเพณีไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๕.๔ การใช้คำพูดกับพระสามัคคีใน ถ้าผู้พูดไม่รู้จัก กับพระภิกษุในพระ ไม่ทราบว่าท่านมีสมณศักดิ์ชั้นไหน นิยม ให้คำพูดมักเป็นกลาง ๆ ดังนี้ ค่า คำทักทาย คำฉาย คำสำคัญสุด พระภิกษุสงฆ์ พระคุณเจ้า กระผม ดีน ครับ เจ้า ค่ะ พระคุณเจ้า ท่าน ผม ดีนิ ๕.๕ ถ้อยคำพิเศษที่นิยมใช้เฉพาะแก่พระภิกษุสงฆ์ ตามประเพณีบางคำ อาถมาภง - ข้าพเจ้า (เป็นคำที่พระใช้แทนตัวท่านเอง) อาราธนา - เชิญ อาพาธ - ป่วย อาหารมินิบาต - อาหาร อธิษฐาน - ของใช้ส่วนของพระภิกษุ ๔ สิ่ง ได้แก่ สบง จีวร สังวะ ประคดเอว บาตรมีโภชนาม เพิ่ม กระบอกกรองน้ำ อาสนะ - ที่นั่ง อังคาส - ถวายอาหารพระ, สังพระ จังหวัด - อาหาร ๖. การนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ ๖.๑ การอาราธนาพระภิกษุสงฆ์ไปประกอบพิธีบุญ ต่าง ๆ นิยมเรียกว่า นิมนต์ การนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ ควร กระทำเมื่อถึงวันประกอบพิธีบุญแน่นอนแล้ว และควร นิมนต์ก่อนวันงานไม่นานพอสมควรหรืออย่างน้อย ๗ วัน www.kalyanamit...
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More