ความเรียบง่ายในการเรียนรู้ภาษา เมื่อไม่รู้จะอ่านอะไร หน้า 68
หน้าที่ 68 / 148

สรุปเนื้อหา

การเรียนภาษาควรเริ่มต้นจากความเรียบง่ายและตรงไปตรงมา ไม่ได้มาจากนักปราชญ์ แต่เริ่มจากการใช้ประโยคพื้นฐาน เช่น 'ฉันกินข้าว' ก่อนที่จะพัฒนาประโยคที่ซับซ้อนมากขึ้น การปฏิบัติและการเข้าถึงความรู้จึงควรเป็นเรื่องที่ง่าย และไม่ซับซ้อน เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงความจริงที่น่าหลงใหลเกี่ยวกับชีวิตและความหมายของการเป็นมนุษย์ได้โดยง่าย เช่นเดียวกับการเปิดเผยความรู้ที่ซับซ้อนในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-ความเรียบง่ายในการสอนภาษา
-การใช้ประโยคพื้นฐาน
-การเข้าถึงความรู้
-การเปรียบเทียบการเรียนรู้กับประสบการณ์ชีวิต
-การพัฒนาจากพื้นฐานสู่ความซับซ้อน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

49. คือความเรียบง่าย...ภายใน ครูสอนภาษาท่านหนึ่ง กล่าวว่า การเรียนภาษาต้องง่าย ๆ ตรงไปตรงมา เพราะว่า ภาษาหรือประโยคของคำพูด ไม่ได้เริ่มต้นมาจาก นักปราชญ์ บัณฑิต หรือบัญญัติสรรค์ แต่เริ่มต้นจากชาวบ้านธรรมดา คือ มีประธาน มีกรรมยา แล้วก็กรรม ท่านก็ยกตัวอย่างว่า เช่น ฉันกินข้าว และหลังจากนั้นก็ฝุกประโยคให้ซับซ้อน ให้ดูสวยงามขึ้นมา แต่จริง ๆ มีความหมายแค่ว่า ฉันกินข้าว การปฏิบัติก็เช่นเดียวกัน จริง ๆ แล้วมันเรียบง่ายสบาย เข้าถึงได้โดยไม่ยาก ทำให้เหมือนโนแซนท์เหมือนเด็ก ๆ ง่าย ๆ เดียวก็เข้าถึงได้ และสิ่งที่เป็นความลับ เหลือเชื่อ เช่น นรภ สวรรค นิพพาน ก็จะถูกเปิดเผยออกมา ล่วง กระจ่าง เหมือนเราชักม่านแห่งความมืดในยายรัตติกาล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More