ข้อความต้นฉบับในหน้า
“ถือหลวงพ่อเป็นหลักครับ หลวงพ่อท่านว่ายังไงก็ทำตามอย่างนั้น
เพราะโดยธรรมดาแล้วหลวงพ่อท่านก็ดีใจอะไรไม่ผิด”
ท่านก็เลยถามว่าว่า “หลวงพ่ออึไหน
“ก็นั่งหลวงพ่อเจ้าอาวาสและหลวงพ่อรองเจ้าอาวาสนั้นแหละครับ”
ฟังดูเกลาขาดมติละนะ ท่านถามต่อไปอีก
“แล้วมีบ้างไหมที่หลวงพอสงตรงนี้มีความคิดเห็นไม่ตรงกัน”
“มีครับ”
“แล้วทํายังไงล่ะ”
“ผมก็เอาหลวงพ่อเจ้าอาวาสเป็นเกณฑ์ครับ”
แล้วว่าเป็นกรณีที่หลวงพอเจ้าอาสักคุณยายนายอาจารย์
มีความคิดเห็นไม่ตรงกันจะทำอย่างไร
เขาก็อีกอๆ อ่า “ผมก็คิดต้องหลบลายครับทั้งตรงนี้”
ก็ได้คำตอบมาว่าอย่างนี้ แต่เป็นคำตอบที่ไม่มีภูมิเห็น!
“คนเราถ้าไม่มีจุดยืนแน่นอนแล้ว อย่าว่าแต่งานพระพุทธศาสนาเลย
แม้แต่งานส่วนตัวก็ไปซะรอด” ท่านก็เป็นห่วง
คืนนี้นั่งหลวงพ่อให้หลักเกณฑ์การตัดสินใจเป็นขั้นเป็นตอนอย่าละเอียด
และตั้งใจว่าจะเล่าให้พวกเราฟังในวันนี้
๑. คุณยออาจารย์ หมายถึง อวยลักษณ์จันทร์ ขันนุ่ง ศีลเขยของหลวงพ่อท่านว่าด้านท่านเจริญ (พระมงคลเทพมุนี)
เป็นอาจารย์สอนการทำทานของพระราชภาวนาเวศกวี เจ้าคณะจังหวัด ตั้งแต่ยุบรวบ
และท่านเป็นผู้ให้คำวินิจฉัยพระธรรมภาย
หลักเกณฑ์ ขั้นตอนในการตัดสินใจ
แยกประเภทของเหตุการณ์ หรือประเภทของเรื่องราวก่อน โดยทั่วไปเหตุการณ์มี ๓
ประเภทใหญ่ ๆ คือ
๑. เหตุการณ์ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับคุณงามความดี
๒. เหตุการณ์ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับความชั่วร้ายเสียหาย
๓. เหตุการณ์ที่เป็นกลาง ๆ ไม่ดีไม่ชั่ว
เหตุการณ์ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับคุณงามความดี เช่น การทำบุญให้ทาน การรักษาศีล
การแผ่เมตตา การมีความอดทน สพุ อย่างนี้เราพอเข้าใจ พอผูกพามออกไหม
เหตุการณ์ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับความชั่วร้ายเสียหาย มีทั้งมองเห็นชัดๆ และที่แอบแฝง
เช่น การผิดศีลไม่ว่าจะได้ขอขมาผิดใน ๕ ข้อ เป็นเรื่องของความชั่วที่มองเห็นชัด ๆ