ข้อความต้นฉบับในหน้า
2534 จิตปรารถจากกัลป์
2535 จิตเกษม
จาก “รูปปี” ที่ดีที่ไว้ที่หน้าวัดหรือที่บิณฑบาต เราก็มาพิจารณากัน
เริ่มจากข้อแรกก่อนเลยทีเดียว
“ของนี้เป็นมงคลหรือไม่เป็นมงคล”
ถ้าไม่เป็นมงคลสีสิ่งที่ไปเลย ถ้าเป็นมงคลถือว่าไว้ เราใส่ไปเลยตั้งแต่งคติ ๑ ไล่ไปเรื่อยๆ
ทั้งหมดนี้คือการตัดสินที่หลวงพ่อใส่คำแน่นอน การตัดสินที่ง่ายที่สุด คือ
ฟังผู้บังคับปัญหาหรือถามเจ้านาย แต่วีชีวิตของเรา ไม่ใช่ว่าเรื่องจะสามารถถามเอาจากใครได้ทุกอย่าง เพราะหากไม่ใช่เรื่องงาน หรือเรื่องที่ต้องรับผิดชอบร่วมกันผู้บังคับบัญชารายแล้วเราย่อมต้องตัดสินใจเองเกือบทั้งหมด ยิ่งเรามีตำแหน่งหน้าที่ทางสังคมมาก
ถึงมีมรรคะในการตัดสินใจมาก
แม้ทุกกฎเกณฑ์ในการตัดสินใจที่หลวงพ่อเทคนิคในวันนี้ก็คงทำให้พวกเราทุกคนมี “หลัก”
ในการตัดสินใจถูกต้องและมีแต่ในทางข้างในทุกๆ เรื่อง
อย่างไรก็ดี สำหรับผู้ที่ฝึกสมาธิแล้ว ก็ยังมีวิธีตัดสินใจวิธีหนึ่งคือ...
9. ตัดสินตามใจพระพุทธเจ้า
หลวงพ่อจะเล่าให้ฟัง วันหนึ่งหลวงพ่อได้มาเรื่องตัดสินใจจากคุณยายอาจารย์
(อุบลาลัยขุนทิน ขนนกยุ่ง)
“ยาย เวลายายจะทำอะไรหรือไม่ทำอะไร ยายเอาอะไรมากเป็นเครื่องตัดสิ” “เวลายายตัดสิน ยายถือหลักง่าย ๆ จะทำอะไรนายจะตามใจพระพุทธเจ้ากองค์อย่างเลย อะไรที่ขัดใจพระพุทธเจ้า หรือไม่ตรงกันที่พระพุทธเจ้ากอไว้ ยายไม่ทำหรอก”
เพราะฉะนั้น ถ้าจากราวใจพระพุทธเจ้าเป็นอย่างไร “ไปนั่งสมาธิแล้วกัน”
ถามต่อคุณยายก็คงตอบท่านเองนี่ คุณยายตอบสั้น ๆ ทำไมจึงตอบสั้นอย่างนั้น
ที่ตอบสั้นเพราะคุณยายยังสมาธิวนมาก นั่งตั้งแต่อตุโลปูนถึง ๓๐ ปี ตอนนี้ท่านอายุ ๙๔ ปีแล้ว
(พ.ศ. ๒๕๒๔) สงสัยอะไรยายก็เข้าได้ถึงสมาธิพระพุทธเจ้า
หลวงพ่อเห็นท่านทำอย่างนั้นนั่นนั่งแตะบกกับท่านใหม่ ๆ จนกระทั่งถึงวันนี้
มีอยู่วันหนึ่ง หลวงพ่อเห็นคุณยายกำลังพรอจินดาไม่อยู่ ทนพพรของท่านไปเรื่อยๆ
ไม่รีรออะไร พรอไปหน้าเรือ หลวงพ่อเดินเข้าไปใกล้ ๆ ท่านก็ยังไม่เห็น
ยืนอยู่พักหนึ่งคุณยายจึงเหลียวมาดู “อ้าว ท่านมาสืออะไร”