การใช้มรรคร่วมองค์ 8 ในการตัดสินธรรมะ แม่บทการตัดสินใจ หน้า 13
หน้าที่ 13 / 28

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้พูดถึงการใช้มรรคร่วมองค์ 8 ในการตัดสินเรื่องธรรมะและการปฏิบัติธรรม โดยอธิบายข้อปฏิบัติที่ช่วยให้เข้าถึงความจริงและลดทุกข์ เช่น สัมมากิฤู, สัมมาสังกัปปะ, และอื่นๆ การทบทวนฐานะและการแต่งตัวในการต้อนรับในหลวงก็ต่อเนื่องไปถึงการปฏิบัติตนตามแนวทางที่ไม่ผิดศีลธรรม พบกับเรื่องราวการวิเคราะห์การใส่เสื้อผ้าในศีลธรรมทั่วไป เรียนรู้เรื่องการปฏิบัติธรรมในบริบทที่เข้าใจง่าย สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การตัดสินธรรมะ
-มรรคร่วมองค์ 8
-การปฏิบัติธรรม
-ศีลธรรมและธรรมเนียม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

มีสิ่งที่ดีไว้หน้าบ้านใน “ทรงพระเจริญ” แต่เราจะไม่ทำอย่างเหลาะ ถามว่ามีผิดศีลไหม ไม่ผิดผิดธรรมไหม ไม่เห็นผิดตรงไหน ผิดกฎหมายไหม ก็ไม่ผิด บ้านของฉัน เพียงแค่ไม่ได้นั่งบ้านไม่ได้ปิดกวนให้มันเอี่ยมอ่อง แต่ไม่ถึงกับปลอดให้ลาบปลวก หรือสังเกลินเหม็นไปรวจไหนน่ะ แล้วผิดธรรมเนียมประชาเนี่ ในหลวงจะเสด็จ ใครๆ เขาก็แต่งตัวอย่างดี ทุกอย่างทำเรียบร้อย แต่เจ้าเบื้องคนนี้นุ่งขาวขาวว่า ใส่เสื้อกล้ามตัวเดียวรับเสด็จในหลวง นุ่งขาวววววววววว ผิดศีลไหม มันก็ไม่ผิด ผิดธรรมไหม ก็ไม่ผิด แต่อดีกรรมเนียมพระเนี่ย คนผิดธรรมเนียมคนเขาไม่อยากคบด้วยนะ ในการตัดสินเกี่ยวกับธรรมะเมื่อลง ตัดสินเกี่ยวกับเรื่องการปฏิบัติธรรม เรื่องสีützิ เรื่องการฝีสมาธิ ทั้งที่เป็นสมาธิสมาธิและมิจฉาสมาธิ จะใช้ มรรคร้อมองค์ เป็นแบบในการตัดสิน ๖. การใช้มรรคร้อมองค์ ๘ เป็นแบบในการตัดสิน มรรคร้อมว่าดัง หทานง ในที่นี้ มรรคร้อมองค์ ๘ หมายถึง “ข้อปฏิบัติให้ถึงความดิบทุกข์” ประกอบด้วย ๑) สัมมากิฤู-เห็นชอบ ๒) สัมมาสังกัปปะ-คำริชอบ ๓) สัมมาวาจา-เจาะจงชอบ ๔) สัมมากัมมันตะ-การกระทำชอบ ๕) สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ ๖) สัมมาาวายามะ-ความเพียรชอบ ๗) สัมมาสติติ-ระลึกชอบ ๘) สัมมาอริส-สัมาธิชอบ ในการตัดสินเรื่องเกี่ยวกับธรรมะเบื่องสูง ตัดสินเกี่ยวกับเรื่องการปฏิบัติธรรม เรื่องสีซึ้งเรื่องการฝีสมาธิ ทั้งเป็นสัมมากิสิและมิจฉาสมาธิ จะใช้ “มรรครื่อง๘” เป็นแบบในการตัดสิน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More