ข้อความต้นฉบับในหน้า
ทราบให้ถูกต้องในการตัดสินว่า
ประกาศที่ 1 ผิดศีล หรือไม่
ประกาศที่ 2 ผิดธรรม หรือไม่
ประกาศที่ 3 ผิดกฎหมาย หรือไม่
ประกาศที่ 4 ผิดประเพณี หรือไม่
5. การใช้ศีล-ธรรม-กฎหมาย
เป็นแม่บทในการตัดสินเรื่องที่เกี่ยวกับมหาชน
สังคมโลกทุกวันนี้เป็นสังคมกว้างขวาง สิ่งที่เราทำทั้ง ๆ ที่เป็นสิ่งดี
แต่บางทีถูกกฎหมายไม่เอื้ออำนวย ขนบธรรมเนียมประเพณีไม่เอื้ออำนวย ดังนั้น
การจะทำอะไรเกี่ยวกับมหาชนจึงมีเรื่องที่จะต้องคิดต้องระมัดระวังอีกเยอะ
ท่านให้ถูกฎเกณฑ์ในการตัดสินไว้
ประกาศที่ ๑ ถามก่อนว่าการทำนันผิดศีลไหม เอาศีล ๕ เข้ามาจับว่าผิดไหม
ตัวอย่างเช่น เค้าเหล่า ถามว่าผิดศีล ๕ ไหม ไม่ผิด เราได้กินนี้ เราแค่ขาย
คำควรให้เขาไปเชือด ผิดศีล ๕ ไหม ไหม เราไม่มียีน ผิดคนอื่นเขาเอาไปมา
เห็นคนดูกันแล้วเราไม่ช่วย ผิดศีล ๕ ไหม ไหม เราได้ลิ้นกัน เขาตกของเขาเอง
ประกาศที่ ๒ ถามว่าผิดธรรมไหม คำควรให้เขาไปทำธรรมไหม
การดำเนินให้เขาไปขอ นอกจากขาดความเมตตาแล้ว ยังเป็นมิจฉาวณิชาชีพที่ไม่ควรทำ
พระพทบองค์ธรรมลเลอะ เอาอย่างนี้หรือไม่ ทำ เพราะมีผลกระทบมาก ผิดศีลไหม ไหม ผิด
ผิดธรรมไหม ผิด เพราะขาดความเมตตากรุณา
ประกาศที่ ๓ เรื่องนั้นผิดกฎหมายไหม เห็นคนโดยตรงมาช่วย ไม่ผิดศีล ไม่ผิดธรรม
เป็นความเมตตากรุณา เป็นธรรมะที่มนุษย์ทุกคนควรมีอยู่ในใจ แต่ผิดกฎหมายไหม
ต้องดูด้วยอข ขาเจ้าของเป็นโจร เป็นจราจรที่มาสิคา ความลับในบ้านเมืองเรา
กฎหมายออมให้คนอย่างลออยู่ไหม ไม่ออม เราไปช่วยแล้วปล่อยให้เขาไป
เราทำผิดกฎหมาย จะเอามนุษย์ธรรมมาเป็นตัวตั้งในเรื่องนี้ไม่ได้แล้ว ตำรวจจับเราครับเลย
ในฐานะรวมเป็นมือเป็นเท่าให้กับคนผิด ผู้อนาถายประเทศชาติ เพราะฉะนั้นทำไม่ได้
ต้องดูถูกกฎหมายบ้านเมืองเป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจ extracurricular
ประกาศที่ 4 การกระทำบางอย่างศีลก็ไม่ผิด ธรรมก็ไม่ผิด กฎหมายก็ไม่ผิด แต่ผิดประเพณี
ตัวอย่างเช่น ในหลวงท่านเสด็จมาบ้านใครๆ เขาก็ปัดกวาดเช็ดถูบ้านเรียบร้อย