ข้อความต้นฉบับในหน้า
ยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น กินข้าวด้วยกันสำหรับเด็กๆ มักขี้เน้นเดียว นิ่งกินกันอยู่ ๙ คน แต่เรากับข้าวแง่มๆ มาดมเดียวเข้าไปก็ครึ่งจานเสียแล้ว เหลืออีกครึ่งจานให้อีก ๓ คนไปแบ่งกัน อย่างนี้ก็หาไม่ถูก มันเข้าขายโลก ถามวัดดีสีหรือเปล่า ก็ไม่ได้ผิดอะไร ไม่รู้จะเอาคำอธิบายไหมจบ แต่รู้ว่ามันเป็นความโลก ตรงกันข้าม กินด้วยกัน ๕ คนแบ่งๆ กันไป อาจจะเหลือบ้างนิดๆ หน่อยๆ ก็ไม่เนเกลียด กินกันไปด้วยดี ดีว่าโลกล แม่ที่สุดเราเสียละคิดว่าข้าวมืออันนี้มีดีเดียว เรากินพูระทังๆ ไปก็แล้วกัน ไม่โลกลที่เหลือพรรคพวกจะได้แบ่งๆ กินกันให้อิ่ม อย่างนี้ก็ว่าเป็นกลาง เพิ่มไปทางดีแล้ว ถือว่าดีและแหละ นี่ก็เป็นอีกเมธหนึ่งที่ใช้ในการตัดสิน ซึ่งมีข้อสังเกตอยู่ดังนี้ว่า การที่ไม่ทำด้วยความไม่โลกล้นโกรธนั้นพอง่าย แต่ไม่ทำด้วยความหลงหรือความโลภหรือความใฝ่ แหม ถ้าหมดในมันก็ไม่โง่ซึ เชื่อว่าเรายังมีกันอยู่แต่ไหน เพราะฉะนั้น โอกาสจะผิดจะพลาดก็ยังมีอยู่ยิ่งขึ้นและนั่นเองหลายๆ ครั้งเรายังต้องจำกัดตัวเองว่าจะทำอะไรลงไป เพื่อป้องกันความผิดพลาดจากความโลภหรือ “โมหะ” นี้ เราจึงนึกใช้วิธีทีเด็ดสินดังนี้ คือ ๑) ศึกษาจากวิธีการที่นักปราชญ์ผู้เนติเขาทำแล้ว ๒) หาที่ปรึกษาซึ่งเป็นผู้รู้ ๓) ใช้การประชุมเข้าช่วย เรื่องการตัดสินใจที่ส่งได้ด้วยความใกล้ใจโลภไม่กลัวไม่หลงนี้ สำหรับนักปฏิบัติซึ่งได้ศีลสมาทานพอ ก็อาจเข้าใจได้ง่ายขึ้น คือ ขณะทำสิ่งใดอยู่แล้ว ปรากฏว่าใจของตนขุ่นมัว ดวงปฐมมรรคยังมัวริบหรี่ลงไปทุกๆ ภายในกายก็กลัวจะแย่ลงกลาง ถ้าเป็นอย่างนี้แสดงว่า การกระทั่งซักไม่ค่อยจะดีแล้ว เราอาจจะแยกจากจะทำด้วยโลภ โทสะ โมหะ ไม่ค่อยออก แต่เวลาเอาความสงบ ความมิดจากภายในศูนย์กลางกายเป็นเครื่องวัดสำหรับผู้ที่เข้าสู่ธรรมภายในแล้ว โดยดูว่า ถ้าทำอะไรแล้วใจมันมีลงไปๆ ละก็ ไม่เอาแล้ว เลิกกาย ถึงแม้ว่ามันจะยังไม่เข้าระดับชั่ว แต่เข้าระดับนิรันดร์ คือยังทำง่ายท้อแท้ ยิ่งฟังชาน รำากฤณ ก็นไม่นำเข้าแล้ว แต่ถ้าทำแล้วใจยังผ่องใส่จะก็ทำากๆ เข้าไปเลย ยึดตัวอย่าง นี้วิธีฉันอีกวิธีหนึ่ง ที่นักปฏิบัติซึ่งเข้าสู่ธรรมภายในจะจะตัดสินใจได้รวดเร็วเป็นพิเศษ