การพัฒนาวิชาวิปัสสนาในประเทศไทย วิปัสสนาวงศ์ หน้า 111
หน้าที่ 111 / 121

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการพัฒนาวิชาวิปัสสนาในประเทศไทย โดยมีการถ่ายทอดจากครูผู้มีความเชี่ยวชาญ เช่น พระอาจารย์มหาศี ไม่ได้ใช้เวลานานในการเรียนรู้วิชานี้ และการสร้างสำนักงานชั้นใหม่ให้กับการปฏิบัติวิปัสสนาในปี พุทธศักราช ๒๔๙๓ โดยมีพระอาจารย์กัณฑ์ตะอาสกเภะ ธัมมาจริง เป็นผู้ดูแล ตลอดจนถึงการส่งเสริมการบำเพ็ญวิปัสสนาในประเทศไทยในปี พุทธศักราช ๒๔๙๔ ที่มีบทบาทของสมเด็จพระพุทธาจารย์ (๑) ที่ต้องการพัฒนาพระพุทธศาสนาในวงกว้าง

หัวข้อประเด็น

-การพัฒนาวิชาวิปัสสนา
-การถ่ายทอดความรู้
-บทบาทของพระอาจารย์
-การส่งเสริมพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อย่างแจ่มชัด และ fleingออกจากการปฏิบัติวิปัสสนาครูฐใหม่ๆ ทั้งเป็นผู้มีความรู้สูงเด่นในด้านค้นธรรมาก่อน ฉะนั้น เมื่อจำต้องมาเรียนวิชาวิปัสสนาจริงใช้เวลา ไม่กี่วันเลย ก็สามารถเรียนวิชาวิปัสสนาจริงได้จนหมดสิ้น ครั้ง พิจารณาเห็นว่าท่านได้รับการถ่ายทอดวิชาวิปัสสนาเสร็จ สิ้นเป็นที่วางใจได้แล้ว ท่านอาจารย์พระโสภณฯเภะ อัคร- มาหาบัณฑิต หรือพระอาจารย์มหาสิ สะยาต์ ซึ่งกำลังตกตั้ง สำนักงานชั้นใหม่ ณ สถานปฏิบัติวิปัสสนา สยิดตา จิง แต่งตั้งให้พระอาจารย์กัณฑ์ตะอาสกเภะ ธัมมาจริง เป็นพระ วิปัสสนาจริงประจำสำนักงานใหญ่วิปัสสนาเธ่สาแห่ง พระนครอย่างกังวล เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๙๓ พระอาจารย์อาสกเถระมาประเทศไทย ในปี พุทธศักราช ๒๔๙๔ สมเด็จพระพุทธาจารย์(๑) แห่ง ประเทศไทย สมัยนั้นน่าท่านดำรงสมณศักดิ์เป็นรองสมเด็จพระ ราชาคณะ ที่ พระพิมลธรรม และมีตำแหน่งหน้าที่สูงเด่น เป็น สังฆมนตรีว่าการองคกรปกครอง สติอยู่ ณ วัดมหาธาตุยุวราช- รังสฤษฎ์ กรุงเทพมหานคร ท่านอนุสรณ์ถึงความเป็นไปของ พระพุทธศาสนา เกิดมหากลุ้มคิดจะให้มีการบำเพ็ญวิปัสสนา ธรรขึ้นในประเทศไทย ก็ให้นั่งอธิษฐานว่ามีพระสงฆ์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More