ประวัติและการพัฒนาของการสอนวิปัสสนากรรมฐานในพระพุทธศาสนา วิปัสสนาวงศ์ หน้า 113
หน้าที่ 113 / 121

สรุปเนื้อหา

ในช่วงเวลานั้นท่านเจ้าคุณพระเทพสิทธิมนีเริ่มเข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานอย่างจริงจัง โดยได้รับการสนับสนุนจากพระอาจารย์พระโลสนามหาเถรที่มีภารกิจมาก ทำให้ต้องมีการมอบหมายพระอาจารย์ภัททันตะ อาสภเถร ขึ้นมาทำหน้าที่สอน ซึ่งมีทั้งปัญหาด้านภาษาระหว่างพระสงฆ์ไทยและพม่า แต่สุดท้ายทั้งสองได้พบวิธีการสื่อสารที่เหมาะสม โดยเฉพาะการใช้ภาษามครในการสอนและสอบอาราม์กรรมฐาน ทุกท่านมีความรู้ด้านพระพุทธศาสนาที่สูงส่ง ทำให้สามารถเข้าใจกันได้แม้มีปัญหาเรื่องภาษา

หัวข้อประเด็น

-วิปัสสนากรรมฐาน
-พระอาจารย์ในพระพุทธศาสนา
-การศึกษาภาษาในกระบวนการสอน
-ความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ที่งเป็นเจ้าสำนักใหญ่ของในขณะนั้น ท่านเจ้าคุณพระเทพสิทธิมนี หรือพระมหาโชค ญาณ สิทธิ ป.ธ.๙ ในสมัยนั้นเมื่อได้เข้าสปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานสมใจแล้ว ก็อุตสาหะปฏิบัติด้วยความพยายามเป็นอย่างยิ่ง ในขณะท่าน ปฏิบัติอยู่นี้ โดยเหตุที่พระอาจารย์พระโลสนามหาเถร อัครมหา บัณฑิตท่านมีภารกิจมากมาย ไม่สามารถที่จะทำหน้าที่สอนและ สอบอาราม์กรรมฐานได้ทุกวัน ฉะนั้น จึงมอบให้พระอาจารย์ภัททันตะ อาสภเถร มัมมาวิยะ ทำหน้าที่เป็นผู้อาสอาราม์และสอนกรรมฐานอยู่ เป็นประจำในเบื้องแรก ก็อาจจะมีความคิดเห็นอยู่บ้างในเรื่องภาษา เนื่องจากว่าพระมหาโชดก ญาณสิทธิ เป็นพระสงฆ์ไทย จึงใช้ ภาษาไทยมาแต่กำเนิด และพระอาจารย์ภัททันตะ อาสภเถร เป็นพระสงฆ์พม่า ก็ใช้ภาษาพม่าแต่กำเนิดอีกเช่นกัน แต่ท่านทั้งสองก็สามารถแก้ปัญหาได้ โดยท่านบอกว่า ใช้ภาษามครเป็นสื่อในการสอนและการสอบอาราม์กรรมฐาน เพราะแต่ละท่านก็มีความรู้ในวิชาการทางพระพุทธศาสนา สูงส่งด้วยกันทั้งคู่ แต่ก็มีอยู่บางครั้ง ที่ท่านไม่สามารถจะสร้าง ความเข้าใจให้แก่กันและกันได้ ซึ่งในขณะนั้น ท่านอาจจะใช้ ภาษาใบ้งก็ได้ ใครจะไปรุ้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More