การฝึกสมาธิและดวงปรุมมรรค วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2557 หน้า 109
หน้าที่ 109 / 124

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอวิธีการฝึกสมาธิเพื่อเข้าถึงดวงปรุมมรรค และความสำคัญของการรักษาศูนย์กลางกายที่ให้ความสุขและความสำเร็จ การทำสมาธิในทุกอริยาบทช่วยสร้างสติและชัดเจนในจิตใจ หลีกเลี่ยงการใช้กำลังและความกังวลในกระบวนการ รวมถึงข้อต้องระวังเพื่อให้การฝึกสมาธิมีประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยความตั้งใจและความสม่ำเสมอ ชีวิตจะเต็มไปด้วยความสุขและความเจริญทั้งในประเทศนี้และประเทศหน้า การแบ่งปันหลักการนี้ช่วยสร้างสันติสุขแก่ทุกคนในมวลมนุษย์

หัวข้อประเด็น

-การฝึกสมาธิ
-ดวงปรุมมรรค
-การรักษาศูนย์กลางกาย
-ประโยชน์ของสมาธิ
-ข้อควรระวังในการทำสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดวงเล็ก ๆ ดวงกลางนั้นไปเรื่อย ๆ ใจจะปรับจนน หยุดได้ถูกส่วน เกิดการคุยและเกิดดวงสว่างขึ้น มาแทนที่ ดวงธรรม หรือ ดวงปรุมมรรค อันเป็นประตูเบื้องต้นที่จะเข้าสู่ หนทางแห่งมรรค ผล นิพพาน การละลึกถึงนิพพานสามารถทำได้ใน ทุกแห่ง ทุกที่ ทุกอริยาบท ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิน หรือทะทำกิจใด ๆ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้สัมผัส เป็นประจำ ทำเรื่อย ๆ ทำอย่างสบาย ๆ ไม่รี่ง ไม่บังดับ ทำได้แน่นให้พอใจเน้น ซึ่งจะเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความอยากพอกพูน จนถึงทำให้จดจ่อสูญเสียความเป็นกลาง และ เมื่อการฝึกสมาธิเกิดผลได้ “ดวงปรุมมรรค” ที่ใสเกินใคร สวยเกินสวย ติดสินนั้นมันคงอยู่ที่ ศูนย์กลางกายแล้ว ให้มหันทรีรลลลิกลถ สิบเนองอยู่เสมอ อย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจะทำให้ชีวิต ต่างอยู่บนเส้นทางแห่งความสุข ความสำเร็จและ ความไม่ประมาทได้ตลอดไป ทั้งยังจะทำสมาธิละลีลื่นไปตาม ลำดับลำดับอีกด้วย ข้อควรระวัง ๑. อย่าใช้กำลัง คือไม่ใช้กำลังใด ๆ ทั้งสิ้น เช่น ไม่บีบกดจมเนื้อเพื่อให้เนินินิวตัว ๆ ไม่เกร็งแน่น หรือกล้ามเนื้อท้อง ไม่เกร็งตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนไหนของร่างกายก็ตาม จะทำให้เกิดเคลื่อนจากศูนย์กลางกายไปสู่จุดนั้น ๒. อย่าอยากเห็น คือทำให้เป็นกลาง ประคองสติให้ผลจากบริการมวลบาและ บริวารมิมิ สิ่งจะเห็นนิศด์เมื่อไฉ้นั้น อย่ากังวล ถ้าถึงเวลาแล้วย่อมเห็นเอง การปฏิกของดวงนิ ดึงนี้อุปมาเหมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เรา ไม่อาจเร่งเวลาได้ ๓. อย่ากังวลการกำหนดลมหายใจเข้า ออก เพราะการฝึกสมาธิที่ดีให้เข้าใจถึงพระธรรม-กายา ในอัศจรรย์อริยก็ คือ กลิ่นแสงสว่างเป็นบานเบื้องต้น เมื่อฝึกสมาธิ จนเข้าถึงดวงปรุมมรรคแล้ว ฝึกสมาธิจะไปผ่าน กายมนุษยะละเอียด กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม จนทะถึงถึงพระธรรมกาย แล้วจึงเจริญปัสสนาในภายหลัง ดังนี้จึงไม่มี ความจำเป็นต้องทำลมหายใจเข้าออกแต่ ประการใด เมื่อเลิกจากนั่งสมาธิแล้ว ให้ตั้งใจไว้ที่ ศูนย์กลางกายเดียว ไม่ว่าจะอยู่ริยาบทใด ก็ดำเนิน เช่น ยืนดีดี เดินดีดี นอนดีดี หรือกินดีดี อย่างง่าย ๆ ก็อย่าจริง ๆ ชื่นใจอยู่ที่รัศมีดี ก็จะยืนรอที่ดี คอยให้บริการมวลนา พร้อมกันถึงบริการมวลเป็น ดวงแก้วใส ควบคู่คุณตลอดไป ๕. นิมิตต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จะต้องน้อม ไปตั้งไว้ศูนย์กลางกายทั้งหมด ถ้ามีอิทธิเกินแล้ว หายไปก็ไม่ต้องตามหา ให้วานานะคอยใจต่อไป ตามปกติ ในที่สุดเมื่อดวง นิมิตย่อมปรากฏขึ้นใหม่อีก การฝึกสมาธิเริ่มต้นเท่าที่กล่าวมา ทั้งหมดนี้ ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดความสุขได้พอ สมควร เมื่อซ้ำซ้อนปฏิบัติซ้ำ ๆ ไม่ทอดทิ้ง จนได้ดวงปรุมมรรคแล้ว ก็ให้มันประคองรักษา ดวงปรุมมรรคันไว้ตลอดชีวิต ดำรงอยู่ใน ศีลธรรมอันดี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่า ได้ที่พิ สิทธิ์ของชีวิตที่ถูกต้องดังงาม ที่จะส่งผลให้เป็นผู้มีความ สุขความเจริญ ท้งในพชชาติและพระชาติหน้า หากสามารถแนะนำต่อ ๆ กันไป ขยายไป ยังเหล่านุษย์ชาติ อย่างไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ์ สันติสุขอันไพบูลย์ที่คนในฝัน ย่อมบังเกิดขึ้นอย่างแน่นอน สิงหาคม ๒๕๕๗ อยู่ในบุญ ๑๐๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More