ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมวธาร วารสารวิชาการพระพุทธศาสนา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวบรวม 13) ปี 2564
ของท่านสงฆ์ภัก เป็นคัมภีร์ของนิภายวาสตริติวาท ที่จานขึ้นเพื่ออรรถธิบายแนวคิดหลักของนิภาย และเพื่อหักล้างแนวคิดของท่านสุทินรุที่เป็นปฏิภัณฑ์ของนิภายวาสตริติวาท โดยเนื้อหาส่วนที่เกี่ยวกับอันตรภาพเป็นส่วนหนึ่งของข้อวิภาวะเรื่องปฏิจสมุปบาท (緣起)27
ประเด็นหลักในการโต้งแจงระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและปฏิเสธอันตรภาพ อยู่ที่นีภายในนั้น ๆ มีวัตถาหลังจากสัตว์ตายไปแล้วจะเกิดใหม่ในทันทีที่เพียงเวลาชั่วขณะจิต หรือมีช่วงระยะเวลาหนึ่งที่เป็นรอยต่อในระหว่างความตายและการเกิดใหม่ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สัตว์นั้นใช้ในการแสงหาที่เกิด ซึ่งวิธีการที่ทั้งสองฝ่ายนำมาใช้ในการวิเคราะห์โดยหลักแบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ 1) การอ้างอิงพุทธวจนหรือเนื้อความในพระสูตรนิภาย หรืออาคาม (Nikāya หรือ Āgama) และ 2) การโต้งโดยตรรกะหรือหลักเหตุผล (yutti) โดยผลลัพธ์ที่ได้จากการตีความพุทธวจนและการใช้หลักเหตุผลมาอธิบายอันตรภาพ ทำให้เกิดชื่อเรียกที่แตกต่างกันและคุณลักษณะจำเพาะของอันตรภาพขึ้นมา ซึ่งจะได้อธิบายรายละเอียดเหล่านี้ในหัวข้อข้อต่อ ๆ ไป
2. ชื่อเรียกของอันตรภาพ
ผลลัพธ์ในการอ้างอิงพุทธวจนของฝ่ายสนับสนุนการมีอยู่ของอันตรภาพที่น่าสนใจ คือ ชื่อเรียกต่าง ๆ ของอันตรภาพที่เกิดขึ้น คำก็วิธีอธิบายมหาวิชชาลัย (MVŚ) ได้บันทึกเอาไว้ว่าอันตรภาพมีชื่อ
จำนวน 80 ผก แปลโดยพระเสวี่นจัง
27 T29.468a-480b