ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมภาษ วรรณวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 13) ปี 2564
บทนำ
พระพุทธศาสนาปฏิรูปสงฆ์ของ “atman” (อาตมัน) หรือ
“atta” (อัตตา) ซึ่งศาสนาพราหมณ์-ฮินดูถือว่าเป็นสิ่งที่เที่ยงแท้วาร
และเป็นสิ่งที่เชื่อบยความเชื่อมโยงของกรรม การให้ผลของกรรม
และการเกิดได้
อย่างไรก็ดีมา เมื่อพระพุทธศาสนายุคต้นปฏิรูปสงฆ์ของ “atman” หรือ
“atta” (อัตตา) ซึ่งที่ไม่ให้เป็นสิ่งที่เที่ยงแท้ คำว่า “antarabhava”
(อันตรภาณะ หรือ อันตรภาพ) หรือ “ภาพในระหว่างความตาย (มรณภาพ)
กับการเกิดใหม่ (อภิฏภ) ” ขึ้นมา เพื่ออธิบายถึงความเชื่อมโยงของสัตว์
กรรม และผลกรรมของสัตว์นั้น ระหว่างภูก่อนตายและภูก่อใหม่
ที่สัตว์นั้นไปเกิด โดยเชื่อว่าหลังจากตายไปแล้ว สัตว์ทั้งหลายจะเข้าสู่
อันตรภาคเป็นเวลา 7 วัน หรือยาวนานกว่านั้น ก่อนที่จะไปเกิดในภพ
ภูมิใหม่ ซึ่งระหว่างที่อยู่ในอันตรภาคนั้น สัตว์ทั้งหลายยังคงมีอันติภาณ
ครบถ้วนบริบูรณ์ แต่ อยู่ในภาวะที่มีความละเอียดมากกว่าในภพิ
ของมนุษย์ และไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเนื้อ แต่สามารถเห็นได้
'ผู้เขียนถือเอาการแบ่ง “ยุคของพระพุทธศาสนาในอดีต” ออกเป็น5 ยุค
ตามมติของ Hirakawa คือ 1. ยุคต้น (Early Buddhism) 2. ยุคนิยาย (Nikāya
or Sectarian Buddhism, often called Hinayana) 3. มหายานยุคต้น (Early Mahāyāna Buddhism) 4. มายานยุคปลาย (Later Mahāyāna Buddhism) 5. ยุคอรรถาราม (คุยหยาน, Esoteric Buddhism) (Akira Hirakawa, A History of Indian Buddhism: From Śākyamuni to Early Mahāyāna, trans. Paul Groner (University of Hawaii Press, 1990), 7-9.) โดยบทความนี้นำเสนอเนื้อหาเรื่องอันตรภาคในคัมภีร์ที่ถูกจัดอยู่ในยุคต้น และยุคณิกายเป็นหลัก