ทรงธรรมวรรณวรรณวิราการพระพุทธศาสนา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 แนวคิดเรื่องอันตราภพหลังความตาย ในคัมภีร์อภิธรรมของแต่ละนิกาย (1) หน้า 38
หน้าที่ 38 / 51

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ศึกษาการแปลความหมายเกี่ยวกับนิภายและอภิธรรมในพระพุทธศาสนา ซึ่งเผยให้เห็นว่าการแปลมี 2 ทิศทางตามที่นิภายต่างๆ อธิบาย โดยเน้นการสนทนาถึงอภิธรรมมหาวิภาษาศาสตร์ และประเภทของคนที่มีมอนาคามี โดยอ้างอิงเนื้อหาจากคลังอภิธรรมสังขิตปริยยะเพื่อสร้างความเข้าใจในประเด็นที่ซับซ้อน ทำให้ผู้อ่านเห็นภาพของการพัฒนาทางด้านจิตใจในพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-อภิธรรมมหาวิภาษาศาสตร์
-แนวทางการศึกษาอภิธรรม
-การแปลความหมายในพระพุทธศาสนา
-นิภายสวาสติทภ
-การอรรถาธิบายแบบเถรวา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทรงธรรมวรรณวรรณวิราการพระพุทธศาสนา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวบรวม 13) ปี 2564 อยู่ระหว่างสิ่งใด ซึ่งเมื่อศึกษาจากข้อใต้ยังเรื่องอันตราบรินพิพาทใน คำภิรอทธิกรรมและอรรถถาถาของนิภายต่างๆ แล้วจะพบการแปลความ หมายไปใน 2 ทิศทาง คือ การอรรถาธิบายแบบของนิภายสวาสติทภ และแบบของนิภายเถรวา ดังแสดงด้านล่าง (1) อภิธรรมมหาวิภาษาศาสตร์ 復次,《集異門》說:有五種不還 補特伽羅, 說中般逹, 乃至上 流在色究竟。 อีกประการหนึ่ง【อภิธรรม】 สังกัด- ปะรายะ67 กล่าวว่ามอนาคามี บุคคล 5 จำพวก คือ อุปถารนิวป- พิ ฐานถึงอุขังโสตตญญูฤาษีมูล อันตราบรินพิพาทเป็นไฉน ? คือ บุคคลที่ในขณะมีชีวิตอยู่ สันไม่ แล้ว รู้ว่าแล้ว ซึ่งสังโยชน์เบื้อง ต่ำ 5 แต่งไม่สันไม่ไป ยังไม่รู้ทั้ง สังโยชน์เบื้องสูง 5 ทำแล้ว เจริญ แล้วซึ่งอุปปาทะเวนียกรรม ไม่ทำ 67 อภิธรรมสังขิตปริยยะ (Sangítiparyäya) เป็น 1 ใน 7 คัมภีร์อภิธรรม ของนิภายสวาสติทภ เป็นคัมภีร์ที่อธิบายหัวข้อธรรมในสังฆิกสูตร ที่พบทั้ง ในฉบับบาสีพินัยกา และฉบับแปลจีนที่รวม คัมภีร์อภิธรรมสังขิตปริยยะ ฉบับแปลจีนใช้ชื่อว่า 陀達集異門足論 ในที่นี้ MVS อ้างอิงโดยอ้างว่า集異門 ซึ่งเนื้อหาที่ MVS อ้างอิงมานี้อยู่ที่ T26.425c28-426c21
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More