ธรรมวาธ วรรณวราราชการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 แนวคิดเรื่องอันตราภพหลังความตาย ในคัมภีร์อภิธรรมของแต่ละนิกาย (1) หน้า 42
หน้าที่ 42 / 51

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้วิเคราะห์ความแตกต่างในการตีความสิ้นสุดของชีวิตสัตว์ที่เวียนว่ายตายเกิดในสงสารวัฏ โดยเฉพาะการอธิบายระหว่างนายสรวา-สติวามและนิกายเถรวาท ที่มีแนวคิดที่แตกต่างเกี่ยวกับกระบวนการเกิดใหม่ ความเชื่อในรูปแบบของขั้น 5 แบบที่เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างชีวิตในภาพภูมิดเดิมกับภาพภูมิใหม่และบทบาทของ 'นามรูป' ในกระบวนการเหล่านี้ นอกจากนี้ยังพูดถึงพระอานาคามีประเภท 'อนัตรปรินิพพาย' และแนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนเข้าสู่กิเลสในอัตภาพก่อนการปรินิพพาน รวมไปถึงแนวคิดพื้นฐานที่แตกต่างทำให้เกิดการตีความหมายของพระสูตรที่มีเนื้อหาเชื่อมโยงถึงชีวิตหลังความตายอย่างลึกซึ้ง ต้องพิจารณาจากความเข้าใจในอัตภาพและการเกิดและดับอย่างต่อเนื่องของจิต.

หัวข้อประเด็น

-การตีความทางพระพุทธศาสนา
-การเกิดใหม่
-อัตภาพปรินิพพาน
-นิกายเถรวาท
-นายสรวา-สติวาม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมวาธ วรรณวราราชการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่ม 13) ปี 2564 เหตุผลของการตีความที่แตกต่างกันนี้ เนื่องมาจากนายสรวา-สติวามและนิกายเถรวาทมีแนวคิดที่แตกต่างกันในการอธิบายเรื่องความสิ้นสุดของชีวิตสัตว์ที่เวียนว่ายตายเกิดในสงสารวัฏ ซึ่งความแตกต่างนี0อยู่ว่าเมื่อสัตว์ตายแล้วในภาพภูมิดเดิม จะเกิดใหม่ในภาพภูมิใหม่หรือว่ามีช่วงเวลาคานกลางในระหว่างสองภาพภูมินั้น ซึ่งนายสรวา-สติวามเชื่อว่าต้องมีรูปแบบของขั้น 5 แบบละเอียดที่เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างชีวิตในภาพภูมเดิมกับภาพภูมิใหม่ เนื่องจากความตายและการเกิดใน 2 ภาพนี้มีตำแหน่งของสถานที่และเวลาที่แตกต่างกันดังนั้น จำเป็นที่จะต้องมี “นามรูป” ที่เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างนามรูปของสัตว์นั้นในภาพภูมิดเดิม กับนามรูปของสัตว์นั้นในภาพภูมิใหม่ที่อยู่ห่างกันออกไป ซึ่งในกรณีของพระอานาคามีประเภท “อนัตรปรินิพพาย” นั้นถูกอธิบายว่าเป็นพระอธิษฐานเมื่อสอบถามมนุษย์ในกามภูมิไปแล้วเปลี่ยนเข้าสู่กิเลสในอัตภาพก่อน แต่เนื่องจากมิฉะนั้นก็กล้าจึงสามารถปรินิพพานในอัตภาพนั้นได้เลย โดยยึดไม่ได้ไปปฏิสนธิโปรภาคิ อย่างไรก็ดีตาม นิกายที่อาศัยการเกิด-ดับอย่างต่อเนื่องของจิตจิตและปฏิสนธิ มาฉิบายความสิ้นสุดของชีวิตในสองภูกมอย่างเครวา ไม่สามารถถอยรับภาพที่มีกลางระหว่างจิตจิตและปฏิสนธิจิตนี้ได้ จึงปฏิเสธการมีอยู่ของอัตภาพและให้ความหมายของอัตภาพปรินิพพานแตกต่างออกไป ดังนั้น ด้วยแนวความคิดพื้นฐานที่แตกต่างของทั้ง 2 นายเอง ทำให้เกิดความแตกต่างในการทดีความหมายของพระสูตรที่มีเนื้อหาเชื่อมโยงถึงการมีนายชัวคราวหลังความตาย ซึ่งหนึ่งในประเด็นขอ้ใต้แย้งนี้คือ การอธิบายความหมายของอัตภาพปรินิพพายดังได้แสดงไว้แล้ว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More