พระจันทร์เต็มดวงและวิชชาธรรมกาย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2556 หน้า 11
หน้าที่ 11 / 124

สรุปเนื้อหา

คืนวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ ถูกมองว่าเป็นคืนที่สำคัญในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะสำหรับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งประสบเหตุการณ์สำคัญในวันนั้นเช่นวันประสูติและวันตรัสรู้ การนึกถึงวันดังกล่าวทำให้เราตระหนักถึงการปฏิบัติในชีวิต และการค้นพบวิชชาธรรมกายที่กลับคืนสู่โลก โดยหลวงปู่ปปา ภารีเมีย ที่ได้อธิษฐานในวันเพ็ญนี้เพื่อนำธรรมะมาสู่ทุกคน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของธรรมในชีวิตประจำวันมากขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-คืนวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ
-ประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
-วิชชาธรรมกาย
-การปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คืนวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ พระจันทร์เต็มดวง ทอแสงงามสว่างไสว มักเป็นคืนที่งามสำเร็จของผู้มีบารมีแก่กล้าสามัคคีผลเป็นอัศจรรย์... ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ทรงมีวันประสูติ ตรัสรู้ และปริณิพพาน ตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ แม้วันแสดงปฐมนิเทศนา วันอาสาฬหบุญญา วันที่ทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์ (วันมาฆบูชา) ก็ตรงวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เช่นกัน ลองพินิจว่าปีหลังพุทธกาล ก็ยัง "วันเพ็ญ" ที่สำคัญอยู่ ยิ่งปกฏขึ้นกัน วันเพ็ญนี้กันเป็นวันเริ่มต้นแห่งการพลิกผันชีวิตของมนุษยชาตในยุคปัจจุบันเลยทีเดียว ๑ ย้อนไปเมื่อ ๑๗ ปีที่ผ่านมา เมื่อวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ พ.ศ. ๒๕๒๐ หลังจากลุุญอุปสรรคเพื่อฟังพระปาฏิโมกข์แล้ว พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺท libero) หลวงปู่ปาปา ภารีเมีย พระผู้อาราธนาง ขึ้นจะนับบวชได้ ๑๒ พรรษา ก้าวเดินเข้าไปยังอุโบสถวัดโพธิ์ (นบ) ตำบลบางคูเวียง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ด้วยจิตมุ่งมั่นที่จะทำความเพีงใมห้รู้เท่าจริงในพระพุทธศาสนา ท่านนั่งลงเบื้องหน้าองค์พระประธาน แล้วตั้งจิตอธิษฐานเอาชีวิตเป็นเดิมพันว่า "ถ้ากำลังลงไปครั้งนี้ ไม่เห็นธรรมที่พระพุทธเจ้าต้องการ เป็นอันไม่ลูกจากนี้จนหมดชีวิต" จากนั้นนำเพียรเพียรอย่างกล้าหาญกระทั่งบรรลุธรรมกาย นำวิชชาธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ากลับคืนมาสู่โลกนี้อีกครั้งหนึ่ง ๒ เมื่อค้นพบวิชชาธรรมกายแล้ว พระเดช-พระคุณหลวงปู่เลือกที่จะเผยวิชชาธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปสู่ใจมหาชน แทนที่จะเหลี้ยนไปเบาเพี้ยนตามลำพังเขาดังเช่นพระปฏิบัติของคนทั้งหลาย ที่น้อมรำลึกโดยหวังว่า ปัจจุบันโลกเปลี่ยนไปอย่างน่ากลัว กะนั้นธรรมะจึงเป็นสิ่งที่คนใช้ในชีวิตจริง พิจารณาในแต่ละวันว่าทำเช่นไร จึงจะมีธรรมในจิตใจท่านปฏิบัติได้ถูกต้อง คนที่น้อมนำธรรมปฏิบัติจริงจังควรมีศรัทธาในหลักธรรมคำสอนและนำไปใช้ให้เกิดผลในชีวิตประจำวัน }
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More