ข้อความต้นฉบับในหน้า
แม้พระไตรปิฎกดิจิทัลฉบับธรรมชัยในการค้นคว้าข้อมูลในพระไตรปิฎกได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งนับเป็นคุณบการใหญ่หลวงต่อการพระพุทธศาสนาและการวิจัยการพุทธศาสตรุตาม แต่พระไตรปิฎกดิจิทัลดังกล่าวบ่งบ่งั้น ล้วนใช้เนื้อจากพระไตรปิฎกฉบับพิมพ์เป็นแหล่งข้อมูลทั้งสิ้น ยังไม่มีพระไตรปิฎกดิจิทัลฉบับได้มีมรรคิ้นฐานเป็นหลักฐานปรับปรุงฐานข้อมูล
โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย จึงมุ่งมั่นทำงานอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานทุกสายจารึก โดยถ่ายภาพเก็บเป็นไฟล์ดิจิทัลและนำมาศึกษาเปรียบเทียบ จัดทำเป็นพระไตรปิฎกดิจิทัลที่สมบูรณ์แบบ ซึ่งจะทำให้นักวิชาการและผู้สนใจสามารถศึกษาค้นคว้าถึงตัวคัมภีร์ใบลานต้นฉบับได้สะดวกรวดเร็วขึ้น
การจัดทำพระไตรปิฎกดิจิทัลที่สมบูรณ์แบบ ซึ่งจะเป็นมรดกธรรมอนาล้ำค่าแก่ชาวโลกสืบไปนั่น มีปัจจัยสำคัญ ๒ ประการ ได้แก่ ที่มา of ข้อมูลและการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
๑. แหล่งข้อมูล
พระไตรปิฎกดิจิทัลฉบับธรรมชัยจัดทำขึ้นโดยใช้คัมภีร์โบราณจาก ๔ สายจารึกหลัก คือ คัมภีร์ใบลานอักษรขม่า ถังสริงหล อักขรณ์อม และอักขรามัม มาเป็นฐานข้อมูล การนำคัมภีร์ใบลานจำนวนมากครบทุกสายจารึกหลักมาศึกษาค้นคว้าตามหลักวิชาคัมภีร์โบราณเช่นนี้ ทำให้เรารับรู้ลักษณะเฉพาะในการสืบสายคัมภีร์ของแต่ละสายจาริตได้อย่างชัดเจน ซึ่งองค์ความรู้จะเป็นข้อมูลอันทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์และทางวิชาการของพระพุทธศาสนา
๒. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นอกจากนี้ โครงการพระไตรปิฎกยังนำนเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ทั้งในกระบวนการถ่ายภาพคัมภีร์ใบลานเป็นไฟลด์ดิจิทัล และในกระบวนการจัดทำฐานข้อมูลพระไตรปิฎกจากภาพคัมภีร์ใบลานด้วยระบบซอฟแวร์ที่มีความถูกต้องแม่นยำ จากนี้จึงส่งต่อฐานข้อมูลดังกล่าวให้คณะนักวิชาการในโครงการซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญพระไตรปิฎกและภาษาบาลี เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคำอ่านจากคัมภีร์ใบลานแต่ละสายจาริต และบันทึกผลการศึกษาค้นคว้า คำอ่านแต่ละสายจาริตไว้อย่างละเอียด และจัดทำเป็นพระไตรปิฎกฉบับธรรมชัยขึ้นมา ทั้งที่เป็นรูปเล่มหนังสือและรูปแบบดิจิทัล