งานจิตรกรรมสมียรัตนโกสินทร์ตอนต้น วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มิถุนายน พ.ศ.2557 หน้า 73
หน้าที่ 73 / 132

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์และเปรียบเทียบความแตกต่างในจิตรกรรมสมียรัตนโกสินทร์ตอนต้นกับต้นแบบในเล่มที่ 1 โดยเน้นถึงการใช้สีและการวางองค์ประกอบที่มีรายละเอียดเพิ่มเติม รวมถึงการใช้ของต้นกล้ามาทำหนังสือโบราณที่นิยมในการบันทึกเรื่องพุทธศาสนา ความทนทานของใบจากในการสร้างคัมภีร์โบราณและภาพรวมของการตกแต่งที่แสดงถึงศิลปะไทยอย่างชัดเจน ภายในคัมภีร์มีการใช้วัสดุต่าง ๆ เช่น งาและไม้ ที่มีลักษณะนูนต่ำและการตกแต่งที่วิจิตร

หัวข้อประเด็น

-จิตรกรรมสมียรัตนโกสินทร์ตอนต้น
-คัมภีร์โบราณไทย
-การใช้ใบจากในการทำหนังสือ
-ศิลปกรรมไทย
-การวางองค์ประกอบในงานศิลปะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สมุดภาพเล่มที่ 2 รูปแบบงานจิตรกรรมสมียรัตนโกสินทร์ตอนต้น สีและการวางองค์ประกอบคล้ายคลึงกับเล่มที่ 1 สันนิษฐานว่าใช้เป็นต้นแบบในการวาด แต่มีการเพิ่มรายละเอียดบางอย่างเข้าไป เช่น สีความของท้องฟ้า มีในมือซ้ายของผู้ชายและมีฉากในหอฉันรอยให้เห็นถึงการถ่ายทอแบบแผนหรือขนบนของศิลปกรรมไทยจากรันหนึ่งไปยังอีกรันหนึ่งได้เป็นอย่างดี นอกจากเปลือกงดั้น้อยแล้ว คนไทยโบราณยังนำของต้นกล้ามาทำหนังสือ แต่ต่างกันตรงที่ปลานิยมใช้บันทึกเรื่องราวทางพุทธศาสนามากกว่ารืออื่น จึงเรียกกันทั่วไปว่า “คัมภีร์โบราณ” ที่พระบิกมุ่งมุ่งใช้เวลาเทศสนพุทธศาสนิกชน ทั้งนี้เพราะใบจากต้นกล้ามีคุณสมบัติที่เบาและบาง สามารถเก็บรักษาหรือเคลื่อนย้ายได้สะดวกที่สำคัญคือคงทนมากมาย แม้ว่าคัมภีร์ฉบับจะไม่มีฤทธิ์ประกอบแบบสมุดไทย ทว่า ความวิจิตรงามก็สามารถเห็นได้จากการตกแต่งของคัมภีร์ ไปหน้่า, ปกหลัง และใบปะกบ รวมถึงผนังเนื้อที่เชื่อใส่ปาน แม้แต่ฉากในเนียมประดิษฐ์ให้ลงมาด้วยวัตถุอนิจฉาต่าง ๆ เช่น งา or ไม้ จำหลักด้วยศิลปะนูนต่ำเป็นลองลายต่าง ๆ เป็นต้น มิถุนายน ๒๕๕๗ อยู่ในบุญ ๓๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More