ข้อความต้นฉบับในหน้า
ระบุพระธาตุสราญ ๒๕๑๒ ศาสตราจารย์จ่าทองคำวรรณ ผู้เชี่ยวชาญการอ่านและเขียนอักษรโบราณ ได้ตรวจสอบกับข้อวามในหนังสือพระธรรมกาย พบว่านี้อา
ตรงกับเรื่องพระธรรมกาย นับเป็นหลักฐานธรรมภายในชั้น ๖
ในส่วนหลักฐานธรรมภายในอีก ๒ ชั้น มีทั้งเป็นภาษาบาลี และภาษไทย จารด้วยอักษรของไทย
อักษรธรรมล้านนา
ทั้งนี้จะขอเริ่มต้นด้วยหลักฐานชั้นนี้ว่า
"คัมภีร์อุปปาตสันติ" ซึ่งเป็นวรรณกรรมบาลีแห่งอดีตล้านนา แต่ขึ้นในลักษณะฉันลักษณ์ในพุทธศตวรรษที่ ๒๐ โดย พระมหามังคล-สิงห์วลเคราะห์แห่งเมืองเชียงใหม่
มีข้อความกล่าวถึง พระปุยยามและพระธรรมกาย ไว้ดังนี้
๒๕๕. นานาคุณวิจิตตสาส รูปาปายาสลกฺโณ สพุทธวงศ์สาลี มารพนฺธมิไร เมตตาพลาน มหา สทา โลติ ภูริยา
เตโชพล มหตา สุพฺพงคลมดูฏ โนฯ
๒๕๖. สพฺพบุญฺญตาทกายูส ชมมกายสูร สกฺโกลน สพุทธนามสุลา มตฺตา สุพงฺคลมดูฏ โนฯ
คัมภีร์อุปปาตสันติ อักษรธรรมลาวา
ที่มา : หอสมุดแห่งชาติลาว
แปลได้ความว่า "๒๕๕ : ด้วยเมตตา-
นาฏนาคุณยอดใหญ่แห่งธรรมกายมีพระสัปฺพุทธญาณเป็นกันของพระศาสดา อันมีเชอรามณของจักษุ
เป็นต้น แต่เป็นอารมณ์ของปัญญาเท่านั้น
ขอสรพงคลงึแก้ก้ากาพเจ้าทั้งหลาย"
จึงเห็นได้ว่าคาถาอุปปาตสันติได้แตก
รูปายและธรรมกาย ของพระพุทธเจ้าออก
จากกันอย่างชัดเจน โดยระบุวธรรมกายของพระพุทธเจ้าเป็นองค์แทนและกล่าวอีกว่า พระธรรมกายสามารถเห็นได้ด้วยปัญญา มิใช่ด้วยตาทาสมัญไปจากอายุของคาถาอุปปาตสันติที่ประเมินไว้ เราสามารถสรุปได้ว่า อย่างช้าในพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ธรรมกายย่อมเป็นที่รู้จักกันดีในเอเชียตนัยและอย่างน้อยในดินแดนล้านนาแล้ว
กรกฎาคม ๒๕๔๔ อยู่ในบุญ ๕๖๗