มารยาทในการรับประทานอาหารตามหลักพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2559 หน้า 77
หน้าที่ 77 / 121

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการแสดงออกที่เหมาะสมเมื่อรับประทานอาหาร โดยยกตัวอย่างพฤติกรรมที่อาจเป็นสิ่งที่ไม่น่าดู และบ่งบอกถึงความมีสติและความใส่ใจต่อบุคลิกภาพของตัวเอง นอกจากนี้ยังมีการอ้างอิงถึงการสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกี่ยวกับวินัย และมารยาทในการกินอาหาร ซึ่งมีความสำคัญในสังคมเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือและการยอมรับจากผู้อื่น โดยเฉพาะในกลุ่มลูกศิษย์

หัวข้อประเด็น

-มารยาทการกิน
-ความสำคัญของบุคลิกภาพ
-การสอนของพระพุทธเจ้า
-พฤติกรรมที่ควรหลีกเลี่ยง
-การสร้างความน่าเชื่อถือในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ของเขาก็รอว์ในบางภูมิภาคที่เขากินข้าวเหนียว ไปเห็นเขาปั้นข้าวได้พอดี ๆ คำแล้วทิ่มมาก อยากนั่งกินกับเขาด้วย แต่บางคนแม่คงจะยันคะยอ เรียกใหกิน ก็ไม่อยากนั่งกินด้วยอย่างนั้น ใครจะอยากนั่งกินด้วย ข้อ ๑๕. “วิญญูพี่ทำความศึกว่า เมื่อคำข้ายังไม่ดีปาก เราจำไม่อยากปากไว้ท” ท่าทางกินข้าวที่ไม่ดึงดูดเช่นนี้น่าทำให้เสียบุคลิก ไม่เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธา ส่วนมากเป็นไปด้วยความอยากเอาแต่ใจ ด้วยความขาดสติ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบัญญัติพระวินัยไว้แก้บุคลิกลูกของท่านอย่างละเอียด เพราะฉะนั้น ในสมัยพุทธกาล ไม่ว่าพระสงฆ์สาวกของพระพุทธองค์ใครปรากฏภูมิที่ไหน ประชาชนยินดีต้อนรับรับขับสู้อยากฟังท่านแสดงธรรม พวกที่อาปากรอดคำข้าว ส่วนมากเป็นเด็กที่พ่อแม่เพิ่งสอนให้กินข้าว ต้องหลอกลวกน้ำมาก แต่ทำไมท่ามพ่อแม่เองนันแหละติดนิสัยอาปากรอคำข้าวเสียเอง ระวังจะขายหน้าชาวบ้าน ข้อ ๑๖. “วิญญูพี่ทำความศึกว่า เมื่อฉันอยู่ เราจำไม่เอานิ้วมือสดเข้า口” นี้เป็นอาการของเด็กอมมือเหมือนกัน สมัยนี้ไม่ได้มือแต่ผ่อน ถ้าไม่มีขานกลางไว้กับข้าวโดยเฉพาะ เพื่อนฝูงที่ร่วมวงพระอีพระน่าดูเหมือนกัน ข้อ ๑๗. “วิญญูพี่ทำความศึกว่า เมื่อข้าวอยู่ในปาก เราจำไม่พูด” ปากเราทำหน้าที่ได้หลายอย่าง แต่ทำไมจึงไม่ได้มือก็เหมือนกัน สมัยนี้ไม่ได้มือแต่ผ่อน ถ้าไม่มีขานกลางไว้กับข้าวโดยเฉพาะ เพื่อนฝูงที่ร่วมวงพระอีพระน่าดูเหมือนกัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More