ข้อความต้นฉบับในหน้า
และสุดท้าย หลักฐานนี้ที่ ๑๔ เป็นหนังสือที่พิมพ์เผยแพร่ในปี พ.ศ. ๒๔๙๗ ชื่อ “หนังสือพูทธรรศสิทธิญาณว่าด้วยสมกาและวิปัสสนามัฏฐิฐาน ๔ ยุค” เนื้อหาภายในหนังสือเล่มนี้ถ่ายทอดและแปลจากคัมภีร์โบราณยอดครองศรีอยุธยา กรุงศรีสัตตนครหลวงเป็นต้น หลักฐานธรรมนาย มีปรากฏอยู่บนที่ได้ันฉบับของจากประดูโรงธรรมกรุงศรีอยุธยา ว่า ด้วย “แบบว่าขั้นนี้มีมารฐานห้องพระพูทธคุณ พระธรรมนูญ พระสังคุณ” มีเนื้อหาแนะแนวาการเจริญวิธีสมาธิวาณ อันกล่าวกันว่า สิ้นเนื่องมาจากกาสนบในกาขบารย์ ๖ องค์แต่โบราณ ภายในมีข้อความเกี่ยวกับธรรมหาย ความว่า “จึงตั้งจิตติท์พิธานุทธรรมนายในรูปายต่างการดำเนินในโพธิ์คงทั้ง ๓ ประการ จนจิตติ์แจ้งแทงตลอดในรูปธรรม และนามธรรมได้แล้ว จำมดเป็นที่พึง จักมธรรมเป็นที่พึ่ง ด้วยประการะนี้” และมีข้อความว่า “พระโยคาวุฒิรู้ว่าธรรมนายดำรงอยู่ในหัยประเทศไทยแห่งธรรพ์ ทำให้หมบ่งกว่าหุนหยอเด็ด ขันตั้งจิตเจริญพระวิปัสสนาญา เพื่อให้ถึงธรรมนายเป็นที่พึ่งอันยอดเยี่ยมโดยสิ้นเชิง ถึงสภาพอันสงบระงับ ประเสริฐเที่ยงแท้ เพราะความอำนวยของธรรมนายนั้นเป็นมตะ”
ทั้งสองข้อความมีเนื้อหาสื่อว่า พระธรรมฐาน คือ สิ่งสูงสุดอันเป็นผลจากการปฏิบัติธรรม และธรรมฐานอยู่ภายในตัวของผู้ปฏิบัติ เป็นที่พึ่ง เป็นที่สงบสูงสุด และความอำนวยของธรรมะเป็นอัน สิ่งถือ เป็นข้อความสำคัญที่ช่วยยืนยันท่ความมีอยู่จริงของพระธรรมฐานภายใน และเป็นเครื่อง
สะท้อนให้เห็นถึง “ลักษณะ” ของพระธรรมฐาน วิธีการเข้าถึง ตลอดจนเป็นการยืนยันว่า การจะเข้าถึงพระธรรมฐานนั้นจะต้องอาศัย “การปฏิบัติธรรม” อย่างถูกต้อง มิได้เป็นการคิดดันทาได้ตามวิสัยภายนอก จากหลักฐานเอกสารโบราณ ทั้งที่เป็นศิลาจารึก จารึกเงิน พับล่า และใบลาน ที่กล่าวไว้ข้างต้น ทำให้กล่าวได้ว่าในหลักฐานโบราณต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นคัมภีร์ใบลาน พับล่า ต่าง ๆ นั้น ล้วนแต่มีข้อความที่แสดงถึงคำว่า “ธรรมภาย” อยู่หลายแห่ง แต่ละแห่งล้วนระบุตรงไปตรงมา มีลักษณะที่เข้าใจได้ง่ายและเชื่อมโยงกับภาวะธรรมที่อยู่ภายในแทบทุกขั้น ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ ๑.) “ธรรมภาย” มีหลักฐานอยู่ในประเทศไทย เป็นที่รู้กันในสังคมทุกชนชั้น ๒.) “ธรรมภาย” พบในภาษาสันสกฤต ๓.) “ธรรมภาย” พบในภาษาบาลีและภาษาไทย ๔.) “ธรรมภาย” เป็นสิ่งสำคัญที่ได้รับการอนุรักษาเพื่อสืบทอดอุดมสมบูรณ์ ทั้งนี้ จากการศึกษาพว่า “ธรรมภาย” ตามที่ปรากฏในหลักฐานโบราณในประเทศไทยนั้น เป็นประดุติพึงอ่อนสูงสุดของสังคม ของพุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า อีกทั้งยังเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดในสังคมของผู้ปฏิบสมาธิภาวนา ด้วย สิ่งที่น่าสนใจไปกว่านั้นคือ ในหลายยุคหลายสมัยที่ผ่านมา ม่านั่น “ธรรมภาย” ล้วนเป็นสิ่งที่ทุก ๆ สถานนานทางการเมือง การปกครอง และทางสังคม ต่างให้การสนับสนุนส่งเสริมเรื่อยมา จนทุกวันนี้ (โปรดติดตามผลงานวิจัยอื่น ๆ ในฉบับต่อไป)