ข้อความต้นฉบับในหน้า
นั่น แม้จะแบ่งเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสงฆ์ต้นปิฎก และพระอภิธรรมปิฎกแล้ว แต่ก็ยังเป็นการสืบทอดด้วยการสวดท่องจำที่เรียกว่า มุขปาฏิ
จนกระทั่งราวปี พ.ศ. ๔๐๐ เศษ ซึ่งมีการจำกัดดีรื้นพะ-ไตรปิฎกลากเป็นลายลักษณ์อักษรลงบนแผ่นใบลานเป็นครั้งแรก ณ โลกแลนด์สนาม ในประเทศศรีลังกา จากนั่นธรรมเนียมการจารจำพระไตรปิฎกลงบนแผ่นลานก็เผยแพร่มายังดินแดนสุวรรณภูมิ แต่เนื่องจากพระไตรปิฎกเป็นภาษาบาลีที่ทรงจำกันมากว่า ๔๐๐ ปี เป็นภาษาที่มีแต่เสียง ไม่มีรูปภาพเป็นของตนเอง แต่ละอัญจักรจึงใช้ภาษาของตนจารึกพระไตรปิฎกเป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้ปัจจุบันเราคัดลอกกันในลักษณะใหญ่ ๆ ที่ยังเหลืออยู่ คือ จารึกศรีลังกาจารึกด้วยอักษรสิงหล จารึกพม่าจารึกด้วยอักษรของ และจารึกล้านนาจารึกด้วยอักษรธรรม
แม้รูปปั้นเณรภายในของคัมภีร์ใบลานทั้ง ๔ สาย จารึกหลักจะคล้ายคลึงกัน คือ มีแผ่นลานที่จาร เนื้อความพระไตรปิฎกที่ร่วมกันเข้าเป็นมัด แล้วประกบหน้าหลังด้วยไม้นึ่งแข็ง ที่เรียกว่า "ไม่ประกัน" แต่ภาคศึกษากลางไปในรายละเอียดปลีกย่อยของแต่ละสายจาริต จะเห็นความแตกต่างที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่สืบทอดมาตลอดหลายร้อยปี และจากการศึกษารวบรวมคัมภีร์ใบลานของโครงการพระไตรปิฎก ฉบับวิชาการ ที่เน้นการสำรวจในประเทศไทย ศรีลังกา และเมียนมาร์ พบว่าโดยภาพรวมเนื้อหาในลานจะจารพระธรรมคำสอน ๔๕,๐๐๐ พระธรรมขันธ์เหมือนกัน แต่ลักษณะการแปลเนื้อหาในแต่ละมัดของแต่ละสายจาริต นั้นแตกต่างกัน ซึ่งสามารถอธิบายให้เห็นภาพได้ชัดเจนโดยการเปรียบเทียบกับพระไตรปิฎกฉบับพิมพ์ อาทิ คัมภีร์ที่มีนิกายแห่งพระสงฆ์ต้นปิฎกฉบับพิมพ์ ประกอบด้วยพระไตรปิฎก ๓ เล่ม คือ สีลขันธาร มหาวรรค และปาฏิ กฤ เมื่ออ่านเปรียบเทียบกับคัมภีร์พระไตรปิฎกใบลานที่พบในประเทศไทยซึ่งจารด้วยอักษรของและธรรมจะพบว่า คัมภีร์ใบลานนี้มีมัดครอบคลุมเนื้อหาคัมภีร์เพียง ๑ เล่มเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากคัมภีร์พระไตรปิฎกใบลานที่พบในประเทศศรีลังกาและประเทศเมียนมาร์ ที่มีเนื้อหา ครอบคลุมคัมภีร์ทั้ง ๓ เล่ม คือ สีนขันธรร มหาวรรคและปาฏิ กฤ รวมอยู่ในมัดเดียวกัน ดังนั้นคัมภีร์นี้จึงมีขนาดมัดครอบคลุมเนื้อหา คัมภีร์เพียง ๑ เล่มเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากคัมภีร์พระไตรปิฎกใบลานในประเทศไทยที่พบในประเทศศรีลังกาและเมียนมาร์ ที่มีเนื้อหา ครอบคลุมคัมภีร์ทั้ง ๓ เล่ม คือ สีนขันธรร มหาวรรคและปาฏิ กฤ รวมอยู่ในมัดเดียวกัน ดังนั้นคัมภีร์นี้จึงมีขนาดมัดครอบคลุมเนื้อหา