การสำรวจและสร้างคัมภีร์พระไตรปิฎกในสมัยพระนั่งเกล้า  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2558 หน้า 76
หน้าที่ 76 / 140

สรุปเนื้อหา

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าได้มีการสำรวจวัตถุพระไตรปิฎกและตรวจสอบคัมภีร์ในแผ่นดิน โดยมีเจ้าพมังกุฎีรับเป็นธุระสำคัญในการอัญเชิญคัมภีร์กลับมา นอกจากนี้ยังมีการจัดสร้างคัมภีร์ใหม่ที่ถูกซ่อมแซมและเพิ่มเติมอย่างรุดหน้าจนเสร็จเรียบร้อย เพื่อรักษาทรัพย์สินทางปัญญาของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย โดยการสร้างคัมภีร์จะมีสัญลักษณ์ประจำอยู่ทั้งด้านซ้ายและขวา บทความนี้สำรวจถึงกรณีการสร้างและซ่อมแซมคัมภีร์พระไตรปิฎกในสมัยนั้น ซึ่งแสดงถึงความสำคัญและความตั้งใจในการรักษาวรรณกรรมทางศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-สำรวจพระไตรปิฎก
-การสร้างคัมภีร์ใหม่
-ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
-สัญลักษณ์ในคัมภีร์
-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าทรงอยู่ทั่วไป โปรดเกล้าฯ ให้สำรวจวัตถุพระไตรปิฎก ในพระพมหาเทียรธรรม และตรวจสอบคัมภีร์พระไตรปิฎกในแผ่นดิน เจ้าพมังกุฎีซึ่งขณะนั้น ทรงพระราชอยู่ ทรงรับเป็นธุระสำคัญในการจัดส่งสมุนเทศไปอัญเชิญพระไตรปิฎกจากลังภากลับมา แผ่นดินสยามเพื่อมาคัดลอกให้สมบูรณ์ ครั้งเมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้สำรวจคัมภีร์พระไตรปิฎกในพระพมหาเทียรธรรมเช่นเดียวกับนี้ เมื่อพบคัมภีร์รบกันได้สูญหายหรือไม่ครบถ้วนก็โปรดเกล้าฯ ให้สร้างซ่อมแซมจนครบสมบูรณ์ริบูรณ์ และ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างคัมภีร์พระไตรปิฎก "ฉบับล่องชาด" สำหรับหอหลวงขั้นใหม่ คัมภีร์ พระไตรปิฎกกลางที่สร้างใหม่สำหรับรับถ่าน จะปรากฏรูปสัญลักษณ์ประจำรากฏออยู่ด้านซ้าย และขวาของใบลาน แต่มากเป็นคัมภีร์ที่สร้างซ่อมเพิ่มเติมจากรากฏเดิมจะปรากฏตราสัญลักษณ์ ริบูรณ์ถางทางด้านซ้าย และตราสัญลักษณ์รบกันบริเวณด้านขวา รูปสัญลักษณ์ประจำรากฏาสาที่ 3 อยู่ด้านซ้ายเป็นภาพปราสาท 3 ห้อง มีฉัตร 5 ชั้น ขนาดชาวขาว รูปสัญลักษณ์ประจำรากฏาสาที่ 4 อยู่ด้านขวาเป็นภาพมงกุฎวางอยู่บนแป้น มีฉัตร 5 ชั้น ขนาดชาวขาว ๗๔ อยู่ในบุญ กรกฎาคม ๒๕๕๘
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More