การเผยแผ่พระสัทธรรมและการพิมพ์ในสมัยรัชกาลที่ 3  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2558 หน้า 77
หน้าที่ 77 / 140

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเผยแผ่พระสัทธรรมและการส่งพระไตรปิฎกฉบับดั้งเดิมไปยังประเทศกัมพูชา รวมถึงความสำคัญของพระเจ้ากฤษฎิในการสร้างคัมภีร์และการจัดตั้งโรงพิมพ์ในวัดบวรนิเวศวิหารเพื่อเผยแพร่คำสอนทางพระพุทธศาสนาอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ซึ่งเป็นครั้งแรกที่มีการใช้เทคโนโลยีการพิมพ์ในลักษณะนี้ในประเทศไทย.

หัวข้อประเด็น

-การเผยแผ่พระสัทธรรม
-พระไตรปิฎก
-การพิมพ์
-รัชกาลที่ 3
-อักษรอริยะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทั้งยังรงเผลอแผ่พระสัทธรรมแห่งองค์พระบรมศาสดาให้ไปงามยังดินแดนอื่น ดั่งปรากฏ หลักฐานในหนังสือ “The Status of Pāli in Cambodia : from Canonical to Esoteric Language” โดย Olivier de Bernonว่า ไม่มี พ.ศ. ๒๕๒๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้า ให้ส่งพระไตรปิฎกฉบับดั้งเดิมสมบูรณ์ไปยังสมเด็จพระครูธารทร์รามหาวีรวงศ์ (นักองค์วัง) ปฐมฎิษฐรีแห่งราชอาณาจักรนครมุจฉาสมัยใหม่ ซึ่งถือเป็นเอกสารด้านการสืบทอด ภาษาและฉบับสมบูรณ์ของประวัติศาสตร์รามัญสู่เฉยเดียว นอกจากเจ้าฟ้ากฤษฎิจะทรงมีส่วนสำคัญในการสร้างคัมภีร์พระไตรปิฎกในสมัยรัชกาลที่ ๓ แล้ว ช่วงที่พระองค์ทรงปกครองวัดบวรนิเวศวิหาร โปรดเกล้าฯ ให้บันทึกเทคโนโลยีการพิมพ์มาใช้ เพื่อประโยชน์ทางพระพุทธศาสนาอีกทางหนึ่ง โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงพิมพ์แห่งแรกของประเทศ ขึ้นภายในวัดบวรนิเวศวิหาร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำสื่อสิ่งพิมพ์ตอบได้คำถามของคณะสงฆ์ศาสนา ที่ได้มุ่งพุทธผ่านสิ่งพิมพ์อย่างต่อเนื่อง และให้บริการเผยแพร่คำสอนทางพระพุทธศาสนา ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับการเผยแพร่ทัศนธนของมิชชั่นที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน และ เพื่อความชื่นชอบของอักขรวิธีในการเขียนและการพิมพ์ทรงประดิษฐ์กาวัณ เรียกว่า อักษรอริยะ หมายถึง อักษรของผู้เจริญ โดยทรงดัดแปลงอักษรโรมันของขาวตะวันตกมาใช้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More